Header Ads

Screen-Shot-2561-02-24-at-11.53.29-PM.png
Breaking News
recent

21 กุมภาพันธ์ 2559 สัมมนาแลกเปลี่ยนความเห็นแนวทางป้องกันภัยคุกคามความมั่นคงบนโลกไซเบอร์ ย้ำ ยิ่งเข้าสู่ยุคดิจิตอล การคุกคามทางไซเบอร์ก็ยิ่งสูงขึ้น ภาคเอกชนภาครัฐ และประชาชนทั่วไปได้มีความรู้และรู้จักป้องกันภัยทางไซเบอร์ และทำให้รู้ว่าภัยทางไซเบอร์ไม่ได้มาแค่การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างเดียวแล้วแต่ยังมาในส่วนของทีวีและวิทยุด้วย

ประเด็นหลัก




ปัจจุบันการเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตมีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องจนเกิดความรวดเร็วในการเข้าถึงผ่านโทรศัพท์สมาทโฟนจนกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ สิ่งที่ตามมาคือภัยในรูปแบบต่างๆ อาทิ การดักจับข้อมูลและการโจมตีระบบการบริหารจัดการทางอินเทอร์เน็ตที่สร้างความเสียหายอย่างมหาศาลให้แก่หน่วยงานภาครัฐเอกชนและภาคประชาชน ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลให้ความสำคัญในการป้องกันปัญหาด้วยการจัดทำยุทธศาสตร์ประเทศในการบริหารจัดการและป้องการการโจมตีทางอินเทอร์เน็ตจากกลุ่มผู้ไม่หวังดีเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในให้เกิดขึ้นกับผู้ใช้บริการ “กสทช.ได้ออกกฎข้อบังคับต่างๆ มากมายเพื่อเอื้อประโยชน์ให้การกำกับดูแลภัยคุกคามบนโลกไซเบอร์มีประสิทธิภาพมากขึ้นอีกทั้งยังจัดสัมนาเพื่อให้ความรู้ถึงภัยคุกคามทางไซเบอร์ให้กับทั้งภาคเอกชนภาครัฐ และประชาชนทั่วไปได้มีความรู้และรู้จักป้องกันภัยทางไซเบอร์ และทำให้รู้ว่าภัยทางไซเบอร์ไม่ได้มาแค่การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างเดียวแล้วแต่ยังมาในส่วนของทีวีและวิทยุด้วย” อย่างไรก็ตาม ในส่วนของการเสี่ยงภัยของผู้ประกอบการวิทยุโทรทัศน์นั้น ปัจจุบันได้กลายไปสู่ยุคดิจิตอลหมดแล้วการออกอากาศทุกอย่างอยู่บนโครงข่ายเดียวกันที่ปัจจุบันมีผู้ให้บริการโครงข่ายทีวีดิจิตอลในไทย 4 ราย คือ ช่อง 5,อสมท. ,ไทยพีบีเอส และกรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งหากถูกโจมตีหรือเกิดการเจาะระบบก็จะทำให้เกิดปัญหาไปในเชิงลึก ดังนั้นผู้ประกอบการโครงข่ายทั้งหมดจะต้องมีระบบที่ป้องกันการโจมตีหรือเจาะเข้าระบบโครงข่ายด้วยเช่นกัน.“





__________________________________________





ผู้ให้บริการโครงข่ายวิทยุโทรทัศน์ไทยเสี่ยงภัยไซเบอร์ | เดลินิวส์


„ผู้ให้บริการโครงข่ายวิทยุโทรทัศน์ไทยเสี่ยงภัยไซเบอร์ กสทช. จัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความเห็นแนวทางป้องกันภัยคุกคามความมั่นคงบนโลกไซเบอร์ ย้ำ ยิ่งเข้าสู่ยุคดิจิตอล การคุกคามทางไซเบอร์ก็ยิ่งสูงขึ้น แนะ ภัยไซเบอร์ไม่ได้มีแค่ในส่วนของการใช้งานอินทอร์เน็ตเท่านั้นแต่ยังมาในส่วนของวิทยุโทรทัศน์ด้วย วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 14:52 น. วันนี้ (17 ก.พ.) ที่ สำนักงานกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช) นายธวัชชัย จิตรภาษ์นันท์ กรรมการ กสทช.กล่าวภายหลังการสัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านความมั่นคงทางไซเบอร์ ระหว่าง สำนักงาน กสทช. ร่วมกับ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงเทลอาวีฟ ประเทศอิสราเอล ภายใต้หัวข้อความมั่นคงปลอดภัยในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์บนโลกอินเทอร์เน็ตว่า ปัจจุบันการเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตมีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องจนเกิดความรวดเร็วในการเข้าถึงผ่านโทรศัพท์สมาทโฟนจนกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ สิ่งที่ตามมาคือภัยในรูปแบบต่างๆ อาทิ การดักจับข้อมูลและการโจมตีระบบการบริหารจัดการทางอินเทอร์เน็ตที่สร้างความเสียหายอย่างมหาศาลให้แก่หน่วยงานภาครัฐเอกชนและภาคประชาชน ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลให้ความสำคัญในการป้องกันปัญหาด้วยการจัดทำยุทธศาสตร์ประเทศในการบริหารจัดการและป้องการการโจมตีทางอินเทอร์เน็ตจากกลุ่มผู้ไม่หวังดีเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในให้เกิดขึ้นกับผู้ใช้บริการ “กสทช.ได้ออกกฎข้อบังคับต่างๆ มากมายเพื่อเอื้อประโยชน์ให้การกำกับดูแลภัยคุกคามบนโลกไซเบอร์มีประสิทธิภาพมากขึ้นอีกทั้งยังจัดสัมนาเพื่อให้ความรู้ถึงภัยคุกคามทางไซเบอร์ให้กับทั้งภาคเอกชนภาครัฐ และประชาชนทั่วไปได้มีความรู้และรู้จักป้องกันภัยทางไซเบอร์ และทำให้รู้ว่าภัยทางไซเบอร์ไม่ได้มาแค่การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างเดียวแล้วแต่ยังมาในส่วนของทีวีและวิทยุด้วย” อย่างไรก็ตาม ในส่วนของการเสี่ยงภัยของผู้ประกอบการวิทยุโทรทัศน์นั้น ปัจจุบันได้กลายไปสู่ยุคดิจิตอลหมดแล้วการออกอากาศทุกอย่างอยู่บนโครงข่ายเดียวกันที่ปัจจุบันมีผู้ให้บริการโครงข่ายทีวีดิจิตอลในไทย 4 ราย คือ ช่อง 5,อสมท. ,ไทยพีบีเอส และกรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งหากถูกโจมตีหรือเกิดการเจาะระบบก็จะทำให้เกิดปัญหาไปในเชิงลึก ดังนั้นผู้ประกอบการโครงข่ายทั้งหมดจะต้องมีระบบที่ป้องกันการโจมตีหรือเจาะเข้าระบบโครงข่ายด้วยเช่นกัน.“



อ่านต่อที่ : http://www.dailynews.co.th/it/380212

ไม่มีความคิดเห็น:

So Magawn ( รวบรวบประวัติศาสตร์โทรคมนาคมและการสือสารไทย ). ขับเคลื่อนโดย Blogger.