04 กรกฎาคม 2555 ( เกาะติดประมูล 3G )(หากชนะส่งผลทางอ้อม ไร้ ประมูล3G)TOT เตรียมฟ้องศาลปค.แผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ดึงคลื่น900คืนกลับคืน
( เกาะติดประมูล 3G )(หากชนะส่งผลทางอ้อม ไร้ ประมูล3G)TOT เตรียมฟ้องศาลปค.แผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ดึงคลื่น900คืนกลับคืน
ประเด็นหลัก
โดยร้องเรียนว่า ในแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่แห่งชาติ ที่กำหนดไว้ในข้อ 8.21.กรณีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐที่นำคลื่นความถี่ไปให้ผู้อื่นประกอบกิจการโดยการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดย กสทช.แล้ว ให้คืนคลื่นความถี่เมื่อสิ้นสุดอายุการอนุญาตสัมปทานหรือสัญญานั้น ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 ที่กำหนดให้ใบอนุญาต ประกอบกิจการของ ทีโอทีสิ้นสุดอายุในเดือนส.ค.2568 แต่ถ้ากสทช.ไม่สามารถให้ความชัดเจนในประเด็นดังกล่าว ทีโอที จำเป็นต้องยื่นฟ้องศาลปกครองเพื่อชี้ขาดในประเด็นดังกล่าวต่อไป
สำหรับ ประเด็นการคืนความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดนั้น ได้มีการถกเถียงกันมาหลายครั้งแล้ว ซึ่งทีโอทีได้แสดงความเห็นคัดค้านมาตลอดตั้งแต่ที่กสทช.เปิดรับฟังความเห็น สาธารณะ (ประชาพิจารณ์) แต่ก็ไม่ได้ความชัดเจน เนื่องจากทีโอที ก็ยืนยันว่า มีสิทธิ์ในคลื่นความถี่ที่ได้รับมาตั้งแต่อดีต และหากจะสิ้นสุดก็ต้องสิ้นสุดพร้อมๆกัน กับระยะเวลาการได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการของทีโอทีคือปี 2568 และ การคืนคลื่นก่อนระยะเวลาการได้รับอนุญาตจะสิ้นสุดนั้น ถือเป็นการริดรอนสิทธ์ของทีโอทีหรือไม่
แต่ขณะที่กสทช. ก็ยืนยันว่าทีโอทีจะต้องทยอยคืนคลื่นความถี่ให้ กสทช. โดยเฉพาะคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ ที่ได้ให้สัมปทานโทรศัพท์มือถือแก่บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (เอไอเอส) จะต้องคืนคลื่นในวันสิ้นสุดสัญญาสัมปทานคือเดือนก.ย.2558 เพราะเป็นไปตามพ.ร.บ.กสทช. กำหนด
อย่างไรก็ตาม จากการหารือเบื้องต้นของผู้บริหารทีโอทีแล้ว จึงได้มีข้อสรุปรวมกันว่า ควรทำหนังสือสอบถามไปยังกสทช.ก่อนในฐานะองค์กรกำกับดูแล แต่หากไม่มีความชัดเจนแล้ว ก็ต้องยื่นฟ้องศาลปกครองต่อไป ทั้งนี้ ได้มีการแสดงความคิดเห็นกันอย่างหลากหลาย ซึ่งส่วนใหญ่มีความกังวลว่า การยื่นฟ้องร้องศาลปกครอง ต่อแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ จะส่งผลกระทบต่อการเปิดประมูลใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพท์มือถือ 3จี บนคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิตรซ์ ที่กสทช.คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในปีเดือน ต.ค. 2555นี้ อาจต้องเลื่อนออกไป
แหล่งข่าว กล่าววา การฟ้องแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ ซึ่งมีส่วนสำคัญมากต่อการประมูล 3 จี เพราะการประมูลที่ต้องล้มในครั้งที่ผ่าน ก็เพราะกสทช.ชุดก่อนไม่มีแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่หลัก ที่นำมาบังคับใช้ อีกทั้งทีโอที อาจถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ขัดขวางการเปิดประมูลและตัวถ่วงความเจริญของประเทศ ส่วนอีกฝ่ายก็เห็นว่า หากกสทช.จะเดินหน้าประมูล 3 จี ในขณะที่เงื่อนไขการใช้คลื่นความถี่และการคืนความถี่ยังไม่ชัดเจน ก็จะสร้างปัญหาในอนาคตได้อีก
ข่าวเกี่ยวข้อง...
ดิ้นสู้!! TOTเตรียมอ้างสิทธิไม่คืนคลื่น กสทช. ทั้ง TOT CAT เกิดก่อน กสทช. // CAT อ้างลูกค้า TRUEMOVE GSM1800 เป็นของตน
( แยกประเด็นดีๆ )
CAT
สำหรับ ฐานลูกค้าภายใต้สัมปทาน เช่น ทรูมูฟมีอยู่มากกว่า 17 ล้านราย เป็นสิทธิ์ของ กสท ที่ต้องเข้าไปดูแลทั้งหมดตามเงื่อนไขสัมปทาน จึงไม่อนุญาตให้โอนย้ายลูกค้าไปยังบริษัทอื่น เว้นแต่ลูกค้าใช้บริการ "คงสิทธิ์เลขหมาย"
และกำลังประสานงานกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสม
ในการดูแลลูกค้าหลังหมดสัมปทาน ซึ่งอาจเปิดทางให้ผู้รับสัมปทานมาช่วยบริหารต่อ
"กรรมสิทธิ์ ในคลื่น 1800 MHz รวมถึงคลื่นอื่นที่ กสท และทีโอทีครอบครองกำลังรวบรวมประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อเสนอให้กระทรวงไอซี ทีรับทราบ เพราะ ม.84 พ.ร.บ. กสทช. เปิดช่องให้กำหนดวิธีการคืนคลื่นก่อนนำไปประมูลได้ หากอธิบายให้ กสทช.เห็นหลักการและเหตุผลในการคงคลื่นไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ก็พอเห็นช่องทางที่จะนำคลื่นไปปรับปรุงเพื่อให้ลูกค้าใช้งานได้เหมือนเดิม"
TOT
แหล่ง ข่าวคนเดิมระบุว่า ประเด็นเรื่องกรรมสิทธิ์ในคลื่นความถี่หลังหมดสัมปทานเป็นปัญหาสำคัญที่ บริษัทกำลังรวบรวมข้อมูลทั้งหมดเพื่อเสนอให้กระทรวงไอซีทีพิจารณา เพราะทีโอทีมองว่า คลื่นความถี่ทั้งหมดาไม่ว่จะในส่วนที่ทีโอทีหรือ กสท ถือครองเป็นสิทธิ์เดิมที่ทั้ง 2 คู่ได้มาก่อนมี กทช. หรือ กสทช. ที่กำหนดให้ทีโอทีต้องไปขอใบอนุญาต ประเภท 3 ระยะเวลา 25 ปี ทั้งคู่จึงควรมีสิทธิ์ใช้คลื่นที่ได้สิทธิ์ต่อไปจนหมดอายุใบอนุญาตปี 2568
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=thailandinthepresentday&month=02-07-2012&group=10&gblog=296
______________________________________________________
ทีโอทีจี้ "กสทช." สางปมคืนคลื่น ขู่กติกาไม่ชัดเล็งฟ้องศาล
ทีโอทีเดินหน้าค้านแผนแม่บทบริหารคลื่นเต็มสูบ ระบุสิทธิในคลื่นย่าน 900 ของเอไอเอส หากหมดสัมปทานจำเป็นต้องกลับมาในครอบครอง
ที โอทีเดินหน้าค้านแผนแม่บทบริหารคลื่นเต็มสูบ ระบุสิทธิในคลื่นย่าน 900 ของเอไอเอส หากหมดสัมปทานจำเป็นต้องกลับมาในครอบครอง ตามอายุไลเซ่นที่ได้จากกสทช.หมดปี 68 ไม่ใช่หมดตามอายุสัมปทาน ระบุแย้งกสทช.ตั้งแต่ประชาพิจารณ์แต่ไม่มีใครฟัง ย้ำหากยังไม่ชัดเจนในคลื่นความถี่ พร้อมร่างสำนวนยื่นฟ้องศาลปกครองชี้ขาด ขณะที่ กสทช.อยู่ไม่ติดเปิดโต๊ะเจรจาด่วน หวั่นกระทบประมูล 3จี-ดิจิทัลทีวี
ผู้สื่อข่าวรายงานจากบมจ.ทีโอที ว่า วานนี้ (3 ก.ค.) มีกลุ่มพนักงานทีโอทีบางคน กำลังเตรียมทำหนังสือ ถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อสอบถามความชัดเจน เกี่ยวกับแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่หลัก 3 ฉบับ ซึ่งประกอบด้วย แผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่แห่งชาติ แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม และแผนแม่บทกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ ที่กสทช.ได้จัดทำตามพ.ร.บ.องค์กรประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2555 (พ.ร.บ.กสทช.)
โดยร้อง เรียนว่า ในแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่แห่งชาติ ที่กำหนดไว้ในข้อ 8.21.กรณีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐที่นำคลื่นความถี่ไปให้ผู้อื่นประกอบกิจการโดยการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดย กสทช.แล้ว ให้คืนคลื่นความถี่เมื่อสิ้นสุดอายุการอนุญาตสัมปทานหรือสัญญานั้น ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 ที่กำหนดให้ใบอนุญาต ประกอบกิจการของ ทีโอทีสิ้นสุดอายุในเดือนส.ค.2568 แต่ถ้ากสทช.ไม่สามารถให้ความชัดเจนในประเด็นดังกล่าว ทีโอที จำเป็นต้องยื่นฟ้องศาลปกครองเพื่อชี้ขาดในประเด็นดังกล่าวต่อไป
สำหรับ ประเด็นการคืนความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดนั้น ได้มีการถกเถียงกันมาหลายครั้งแล้ว ซึ่งทีโอทีได้แสดงความเห็นคัดค้านมาตลอดตั้งแต่ที่กสทช.เปิดรับฟังความเห็น สาธารณะ (ประชาพิจารณ์) แต่ก็ไม่ได้ความชัดเจน เนื่องจากทีโอที ก็ยืนยันว่า มีสิทธิ์ในคลื่นความถี่ที่ได้รับมาตั้งแต่อดีต และหากจะสิ้นสุดก็ต้องสิ้นสุดพร้อมๆกัน กับระยะเวลาการได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการของทีโอทีคือปี 2568 และ การคืนคลื่นก่อนระยะเวลาการได้รับอนุญาตจะสิ้นสุดนั้น ถือเป็นการริดรอนสิทธ์ของทีโอทีหรือไม่
แต่ขณะที่กสทช. ก็ยืนยันว่าทีโอทีจะต้องทยอยคืนคลื่นความถี่ให้ กสทช. โดยเฉพาะคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ ที่ได้ให้สัมปทานโทรศัพท์มือถือแก่บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (เอไอเอส) จะต้องคืนคลื่นในวันสิ้นสุดสัญญาสัมปทานคือเดือนก.ย.2558 เพราะเป็นไปตามพ.ร.บ.กสทช. กำหนด
อย่างไรก็ตาม จากการหารือเบื้องต้นของผู้บริหารทีโอทีแล้ว จึงได้มีข้อสรุปรวมกันว่า ควรทำหนังสือสอบถามไปยังกสทช.ก่อนในฐานะองค์กรกำกับดูแล แต่หากไม่มีความชัดเจนแล้ว ก็ต้องยื่นฟ้องศาลปกครองต่อไป ทั้งนี้ ได้มีการแสดงความคิดเห็นกันอย่างหลากหลาย ซึ่งส่วนใหญ่มีความกังวลว่า การยื่นฟ้องร้องศาลปกครอง ต่อแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ จะส่งผลกระทบต่อการเปิดประมูลใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพท์มือถือ 3จี บนคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิตรซ์ ที่กสทช.คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในปีเดือน ต.ค. 2555นี้ อาจต้องเลื่อนออกไป
แหล่งข่าว กล่าววา การฟ้องแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ ซึ่งมีส่วนสำคัญมากต่อการประมูล 3 จี เพราะการประมูลที่ต้องล้มในครั้งที่ผ่าน ก็เพราะกสทช.ชุดก่อนไม่มีแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่หลัก ที่นำมาบังคับใช้ อีกทั้งทีโอที อาจถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ขัดขวางการเปิดประมูลและตัวถ่วงความเจริญของประเทศ ส่วนอีกฝ่ายก็เห็นว่า หากกสทช.จะเดินหน้าประมูล 3 จี ในขณะที่เงื่อนไขการใช้คลื่นความถี่และการคืนความถี่ยังไม่ชัดเจน ก็จะสร้างปัญหาในอนาคตได้อีก
"พนักงานทีโอทีและทางสหภาพรัฐวิสาหกิจ บางคน ได้ร่างคำร้องเพื่อขอยื่นฟ้องต่อศาลปกครองแล้ว แต่ผู้บริหารระดุบสูง และคณะกรรมการ (บอร์ด) ได้ทักท้วงไว้ เพราะก็ต้องการให้เกิดการประมูล 3จีตามนโยบายของรัฐบาล เพราะหากศาลปกครองรับฟังในประเด็นดังกล่าว การประมูล 3จี และการประมูลดิจิทัลทีวีที่จะเกิดขึ้นในปีนี้จำเป็นต้องสะดุดอย่างแน่นอน เพราะถือเป็นแผนแม่บทหลัก"
กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20120704/4598
88/%B7%D5%E2%CD%B7%D5%A8%D5%E9-%A1%CA%B7%AA.-
%CA%D2%A7%BB%C1%A4%D7%B9%A4%C5%D7%E8%B9-
%A2%D9%E8%A1%B5%D4%A1%D2%E4%C1%E8%AA%D1%B4
%E0%C5%E7%A7%BF%E9%CD%A7%C8%D2%C5.html
_________________________________________________
TOTขู่ยื่นศาลปกครองเป็นผู้ชี้ขาด ประเด็นคืนคลื่นความถี่มือถือ ระบุเงื่อนไข กสทช.คลุมเครือ
ข่าวเศรษฐกิจ หนังสือพิมพ์แนวหน้า -- พุธที่ 4 กรกฎาคม 2555 06:00:00 น.
“ที โอที” ร่อนหนังสือถึง กสทช.ขอความชัดเจนในการคืนคลื่นความถี่ ระบุประกาศของกสทช.ยังขาดความชัดเจน ขู่ยื่นฟ้องเพื่อให้ศาลปกครองเป็นผู้ชี้ขาด
แหล่งข่าวจาก บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) หรือ TOT เปิดเผยว่า? ทีโอที เตรียมทำหนังสือถึง คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อสอบถามความชัดเจนเกี่ยวกับแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ 2555 ที่ กสทช.ให้ราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐรวมทั้ง ทีโอที คืนคลื่นความถี่
โดยประเด็นที่ ทีโอที ไม่เห็นด้วยคือ ประเด็นที่แผนแม่บทฯกำหนดไว้ในข้อ 8.21 ที่ระบุว่าในกรณีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐที่นำคลื่นความถี่ไปให้ผู้อื่นประกอบกิจการโดยการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดย กสทช.แล้ว ให้คืนคลื่นความถี่เมื่อสิ้นสุดอายุการอนุญาต สัมปทานหรือสัญญา
โดย ทีโอที เห็นว่าไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 ที่กำหนดให้ใบอนุญาตประกอบกิจการของ ทีโอที สิ้นสุดอายุในเดือนสิงหาคม 2568 แต่ถ้ากสทช.ไม่สามารถให้ความชัดเจนในประเด็นดังกล่าว ทีโอที จำเป็นต้องยื่นฟ้องศาลปกครองเพื่อชี้ขาดในประเด็นดังกล่าวต่อไป
“ประเด็น การคืนความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดนั้น ได้มีการถกเถียงกันมาหลายครั้งแล้ว แต่ไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน เนื่องจากทีโอที ก็ยืนยันว่า มีสิทธิ์ในคลื่นความถี่ที่ได้รับมาตั้งแต่อดีตและหากจะสิ้นสุดก็ต้องสิ้นสุด พร้อมๆ กันกับระยะเวลาการได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการคือ ปี 2568”
นอก จากนี้การคืนคลื่นก่อนระยะเวลาการได้รับอนุญาตจะสิ้นสุดนั้น ถือเป็นการลิดรอนสิทธิ์ของทีโอทีหรือไม่ แต่ขณะที่กสทช. ก็ยืนยันว่าทีโอทีจะต้องทยอยคืนคลื่นความถี่ให้ กสทช. โดยเฉพาะคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ที่ได้ให้สัมปทานมือถือแก่บริษัท แอดวานซ์? อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอสนั้น จะต้องคืนคลื่นในวันสิ้นสุดสัญญาสัมปทานคือเดือนกันยายน 2558 เพราะเป็นไปตามพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) กำหนด
อย่างไรก็ตาม จากการหารือเบื้องต้นของผู้บริหารทีโอทีแล้ว จึงได้มีข้อสรุปรวมกันว่า ควรทำหนังสือสอบถามไปยังกสทช.ก่อนในฐานะองค์กรกำกับดูแล แต่หากไม่มีความชัดเจนแล้ว ก็ต้องยื่นฟ้องศาลปกครองต่อไป ทั้งนี้ได้มีการแสดงความคิดเห็นกันอย่างหลากหลาย ซึ่งส่วนใหญ่มีความกังวลว่า การยื่นฟ้องร้องศาลปกครอง? จะส่งผลกระทบต่อการเปิดประมูลใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพท์มือถือ 3จี บนคลื่นความถี่? 2.1 กิกะเฮิรตซ์ (GHz)? ที่กสทช.คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในปีเดือนตุลาคม 2555 นี้ อาจต้องเลื่อนออกไป เนื่องจากเป็นการฟ้องแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ ซึ่งมีส่วนสำคัญมากต่อการประมูล 3จี อีกทั้งทีโอที อาจถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ขัดขวางการเปิดประมูลและตัวถ่วงความเจริญของประเทศ ส่วนอีกฝ่ายก็เห็นว่า หากกสทช.จะเดินหน้าประมูล 3จี ในขณะที่เงื่อนไขการใช้คลื่นความถี่และการคืนความถี่ยังไม่ชัดเจน ก็จะสร้างปัญหาในอนาคตได้เช่นกัน
แนวหน้า
http://www.ryt9.com/s/nnd/1437667
ประเด็นหลัก
โดยร้องเรียนว่า ในแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่แห่งชาติ ที่กำหนดไว้ในข้อ 8.21.กรณีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐที่นำคลื่นความถี่ไปให้ผู้อื่นประกอบกิจการโดยการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดย กสทช.แล้ว ให้คืนคลื่นความถี่เมื่อสิ้นสุดอายุการอนุญาตสัมปทานหรือสัญญานั้น ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 ที่กำหนดให้ใบอนุญาต ประกอบกิจการของ ทีโอทีสิ้นสุดอายุในเดือนส.ค.2568 แต่ถ้ากสทช.ไม่สามารถให้ความชัดเจนในประเด็นดังกล่าว ทีโอที จำเป็นต้องยื่นฟ้องศาลปกครองเพื่อชี้ขาดในประเด็นดังกล่าวต่อไป
สำหรับ ประเด็นการคืนความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดนั้น ได้มีการถกเถียงกันมาหลายครั้งแล้ว ซึ่งทีโอทีได้แสดงความเห็นคัดค้านมาตลอดตั้งแต่ที่กสทช.เปิดรับฟังความเห็น สาธารณะ (ประชาพิจารณ์) แต่ก็ไม่ได้ความชัดเจน เนื่องจากทีโอที ก็ยืนยันว่า มีสิทธิ์ในคลื่นความถี่ที่ได้รับมาตั้งแต่อดีต และหากจะสิ้นสุดก็ต้องสิ้นสุดพร้อมๆกัน กับระยะเวลาการได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการของทีโอทีคือปี 2568 และ การคืนคลื่นก่อนระยะเวลาการได้รับอนุญาตจะสิ้นสุดนั้น ถือเป็นการริดรอนสิทธ์ของทีโอทีหรือไม่
แต่ขณะที่กสทช. ก็ยืนยันว่าทีโอทีจะต้องทยอยคืนคลื่นความถี่ให้ กสทช. โดยเฉพาะคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ ที่ได้ให้สัมปทานโทรศัพท์มือถือแก่บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (เอไอเอส) จะต้องคืนคลื่นในวันสิ้นสุดสัญญาสัมปทานคือเดือนก.ย.2558 เพราะเป็นไปตามพ.ร.บ.กสทช. กำหนด
อย่างไรก็ตาม จากการหารือเบื้องต้นของผู้บริหารทีโอทีแล้ว จึงได้มีข้อสรุปรวมกันว่า ควรทำหนังสือสอบถามไปยังกสทช.ก่อนในฐานะองค์กรกำกับดูแล แต่หากไม่มีความชัดเจนแล้ว ก็ต้องยื่นฟ้องศาลปกครองต่อไป ทั้งนี้ ได้มีการแสดงความคิดเห็นกันอย่างหลากหลาย ซึ่งส่วนใหญ่มีความกังวลว่า การยื่นฟ้องร้องศาลปกครอง ต่อแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ จะส่งผลกระทบต่อการเปิดประมูลใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพท์มือถือ 3จี บนคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิตรซ์ ที่กสทช.คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในปีเดือน ต.ค. 2555นี้ อาจต้องเลื่อนออกไป
แหล่งข่าว กล่าววา การฟ้องแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ ซึ่งมีส่วนสำคัญมากต่อการประมูล 3 จี เพราะการประมูลที่ต้องล้มในครั้งที่ผ่าน ก็เพราะกสทช.ชุดก่อนไม่มีแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่หลัก ที่นำมาบังคับใช้ อีกทั้งทีโอที อาจถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ขัดขวางการเปิดประมูลและตัวถ่วงความเจริญของประเทศ ส่วนอีกฝ่ายก็เห็นว่า หากกสทช.จะเดินหน้าประมูล 3 จี ในขณะที่เงื่อนไขการใช้คลื่นความถี่และการคืนความถี่ยังไม่ชัดเจน ก็จะสร้างปัญหาในอนาคตได้อีก
ข่าวเกี่ยวข้อง...
ดิ้นสู้!! TOTเตรียมอ้างสิทธิไม่คืนคลื่น กสทช. ทั้ง TOT CAT เกิดก่อน กสทช. // CAT อ้างลูกค้า TRUEMOVE GSM1800 เป็นของตน
( แยกประเด็นดีๆ )
CAT
สำหรับ ฐานลูกค้าภายใต้สัมปทาน เช่น ทรูมูฟมีอยู่มากกว่า 17 ล้านราย เป็นสิทธิ์ของ กสท ที่ต้องเข้าไปดูแลทั้งหมดตามเงื่อนไขสัมปทาน จึงไม่อนุญาตให้โอนย้ายลูกค้าไปยังบริษัทอื่น เว้นแต่ลูกค้าใช้บริการ "คงสิทธิ์เลขหมาย"
และกำลังประสานงานกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสม
ในการดูแลลูกค้าหลังหมดสัมปทาน ซึ่งอาจเปิดทางให้ผู้รับสัมปทานมาช่วยบริหารต่อ
"กรรมสิทธิ์ ในคลื่น 1800 MHz รวมถึงคลื่นอื่นที่ กสท และทีโอทีครอบครองกำลังรวบรวมประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อเสนอให้กระทรวงไอซี ทีรับทราบ เพราะ ม.84 พ.ร.บ. กสทช. เปิดช่องให้กำหนดวิธีการคืนคลื่นก่อนนำไปประมูลได้ หากอธิบายให้ กสทช.เห็นหลักการและเหตุผลในการคงคลื่นไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ก็พอเห็นช่องทางที่จะนำคลื่นไปปรับปรุงเพื่อให้ลูกค้าใช้งานได้เหมือนเดิม"
TOT
แหล่ง ข่าวคนเดิมระบุว่า ประเด็นเรื่องกรรมสิทธิ์ในคลื่นความถี่หลังหมดสัมปทานเป็นปัญหาสำคัญที่ บริษัทกำลังรวบรวมข้อมูลทั้งหมดเพื่อเสนอให้กระทรวงไอซีทีพิจารณา เพราะทีโอทีมองว่า คลื่นความถี่ทั้งหมดาไม่ว่จะในส่วนที่ทีโอทีหรือ กสท ถือครองเป็นสิทธิ์เดิมที่ทั้ง 2 คู่ได้มาก่อนมี กทช. หรือ กสทช. ที่กำหนดให้ทีโอทีต้องไปขอใบอนุญาต ประเภท 3 ระยะเวลา 25 ปี ทั้งคู่จึงควรมีสิทธิ์ใช้คลื่นที่ได้สิทธิ์ต่อไปจนหมดอายุใบอนุญาตปี 2568
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=thailandinthepresentday&month=02-07-2012&group=10&gblog=296
______________________________________________________
ทีโอทีจี้ "กสทช." สางปมคืนคลื่น ขู่กติกาไม่ชัดเล็งฟ้องศาล
ทีโอทีเดินหน้าค้านแผนแม่บทบริหารคลื่นเต็มสูบ ระบุสิทธิในคลื่นย่าน 900 ของเอไอเอส หากหมดสัมปทานจำเป็นต้องกลับมาในครอบครอง
ที โอทีเดินหน้าค้านแผนแม่บทบริหารคลื่นเต็มสูบ ระบุสิทธิในคลื่นย่าน 900 ของเอไอเอส หากหมดสัมปทานจำเป็นต้องกลับมาในครอบครอง ตามอายุไลเซ่นที่ได้จากกสทช.หมดปี 68 ไม่ใช่หมดตามอายุสัมปทาน ระบุแย้งกสทช.ตั้งแต่ประชาพิจารณ์แต่ไม่มีใครฟัง ย้ำหากยังไม่ชัดเจนในคลื่นความถี่ พร้อมร่างสำนวนยื่นฟ้องศาลปกครองชี้ขาด ขณะที่ กสทช.อยู่ไม่ติดเปิดโต๊ะเจรจาด่วน หวั่นกระทบประมูล 3จี-ดิจิทัลทีวี
ผู้สื่อข่าวรายงานจากบมจ.ทีโอที ว่า วานนี้ (3 ก.ค.) มีกลุ่มพนักงานทีโอทีบางคน กำลังเตรียมทำหนังสือ ถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อสอบถามความชัดเจน เกี่ยวกับแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่หลัก 3 ฉบับ ซึ่งประกอบด้วย แผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่แห่งชาติ แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม และแผนแม่บทกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ ที่กสทช.ได้จัดทำตามพ.ร.บ.องค์กรประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2555 (พ.ร.บ.กสทช.)
โดยร้อง เรียนว่า ในแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่แห่งชาติ ที่กำหนดไว้ในข้อ 8.21.กรณีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐที่นำคลื่นความถี่ไปให้ผู้อื่นประกอบกิจการโดยการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดย กสทช.แล้ว ให้คืนคลื่นความถี่เมื่อสิ้นสุดอายุการอนุญาตสัมปทานหรือสัญญานั้น ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 ที่กำหนดให้ใบอนุญาต ประกอบกิจการของ ทีโอทีสิ้นสุดอายุในเดือนส.ค.2568 แต่ถ้ากสทช.ไม่สามารถให้ความชัดเจนในประเด็นดังกล่าว ทีโอที จำเป็นต้องยื่นฟ้องศาลปกครองเพื่อชี้ขาดในประเด็นดังกล่าวต่อไป
สำหรับ ประเด็นการคืนความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดนั้น ได้มีการถกเถียงกันมาหลายครั้งแล้ว ซึ่งทีโอทีได้แสดงความเห็นคัดค้านมาตลอดตั้งแต่ที่กสทช.เปิดรับฟังความเห็น สาธารณะ (ประชาพิจารณ์) แต่ก็ไม่ได้ความชัดเจน เนื่องจากทีโอที ก็ยืนยันว่า มีสิทธิ์ในคลื่นความถี่ที่ได้รับมาตั้งแต่อดีต และหากจะสิ้นสุดก็ต้องสิ้นสุดพร้อมๆกัน กับระยะเวลาการได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการของทีโอทีคือปี 2568 และ การคืนคลื่นก่อนระยะเวลาการได้รับอนุญาตจะสิ้นสุดนั้น ถือเป็นการริดรอนสิทธ์ของทีโอทีหรือไม่
แต่ขณะที่กสทช. ก็ยืนยันว่าทีโอทีจะต้องทยอยคืนคลื่นความถี่ให้ กสทช. โดยเฉพาะคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ ที่ได้ให้สัมปทานโทรศัพท์มือถือแก่บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (เอไอเอส) จะต้องคืนคลื่นในวันสิ้นสุดสัญญาสัมปทานคือเดือนก.ย.2558 เพราะเป็นไปตามพ.ร.บ.กสทช. กำหนด
อย่างไรก็ตาม จากการหารือเบื้องต้นของผู้บริหารทีโอทีแล้ว จึงได้มีข้อสรุปรวมกันว่า ควรทำหนังสือสอบถามไปยังกสทช.ก่อนในฐานะองค์กรกำกับดูแล แต่หากไม่มีความชัดเจนแล้ว ก็ต้องยื่นฟ้องศาลปกครองต่อไป ทั้งนี้ ได้มีการแสดงความคิดเห็นกันอย่างหลากหลาย ซึ่งส่วนใหญ่มีความกังวลว่า การยื่นฟ้องร้องศาลปกครอง ต่อแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ จะส่งผลกระทบต่อการเปิดประมูลใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพท์มือถือ 3จี บนคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิตรซ์ ที่กสทช.คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในปีเดือน ต.ค. 2555นี้ อาจต้องเลื่อนออกไป
แหล่งข่าว กล่าววา การฟ้องแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ ซึ่งมีส่วนสำคัญมากต่อการประมูล 3 จี เพราะการประมูลที่ต้องล้มในครั้งที่ผ่าน ก็เพราะกสทช.ชุดก่อนไม่มีแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่หลัก ที่นำมาบังคับใช้ อีกทั้งทีโอที อาจถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ขัดขวางการเปิดประมูลและตัวถ่วงความเจริญของประเทศ ส่วนอีกฝ่ายก็เห็นว่า หากกสทช.จะเดินหน้าประมูล 3 จี ในขณะที่เงื่อนไขการใช้คลื่นความถี่และการคืนความถี่ยังไม่ชัดเจน ก็จะสร้างปัญหาในอนาคตได้อีก
"พนักงานทีโอทีและทางสหภาพรัฐวิสาหกิจ บางคน ได้ร่างคำร้องเพื่อขอยื่นฟ้องต่อศาลปกครองแล้ว แต่ผู้บริหารระดุบสูง และคณะกรรมการ (บอร์ด) ได้ทักท้วงไว้ เพราะก็ต้องการให้เกิดการประมูล 3จีตามนโยบายของรัฐบาล เพราะหากศาลปกครองรับฟังในประเด็นดังกล่าว การประมูล 3จี และการประมูลดิจิทัลทีวีที่จะเกิดขึ้นในปีนี้จำเป็นต้องสะดุดอย่างแน่นอน เพราะถือเป็นแผนแม่บทหลัก"
กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20120704/4598
88/%B7%D5%E2%CD%B7%D5%A8%D5%E9-%A1%CA%B7%AA.-
%CA%D2%A7%BB%C1%A4%D7%B9%A4%C5%D7%E8%B9-
%A2%D9%E8%A1%B5%D4%A1%D2%E4%C1%E8%AA%D1%B4
%E0%C5%E7%A7%BF%E9%CD%A7%C8%D2%C5.html
_________________________________________________
TOTขู่ยื่นศาลปกครองเป็นผู้ชี้ขาด ประเด็นคืนคลื่นความถี่มือถือ ระบุเงื่อนไข กสทช.คลุมเครือ
ข่าวเศรษฐกิจ หนังสือพิมพ์แนวหน้า -- พุธที่ 4 กรกฎาคม 2555 06:00:00 น.
“ที โอที” ร่อนหนังสือถึง กสทช.ขอความชัดเจนในการคืนคลื่นความถี่ ระบุประกาศของกสทช.ยังขาดความชัดเจน ขู่ยื่นฟ้องเพื่อให้ศาลปกครองเป็นผู้ชี้ขาด
แหล่งข่าวจาก บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) หรือ TOT เปิดเผยว่า? ทีโอที เตรียมทำหนังสือถึง คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อสอบถามความชัดเจนเกี่ยวกับแผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ 2555 ที่ กสทช.ให้ราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐรวมทั้ง ทีโอที คืนคลื่นความถี่
โดยประเด็นที่ ทีโอที ไม่เห็นด้วยคือ ประเด็นที่แผนแม่บทฯกำหนดไว้ในข้อ 8.21 ที่ระบุว่าในกรณีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐที่นำคลื่นความถี่ไปให้ผู้อื่นประกอบกิจการโดยการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดย กสทช.แล้ว ให้คืนคลื่นความถี่เมื่อสิ้นสุดอายุการอนุญาต สัมปทานหรือสัญญา
โดย ทีโอที เห็นว่าไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 ที่กำหนดให้ใบอนุญาตประกอบกิจการของ ทีโอที สิ้นสุดอายุในเดือนสิงหาคม 2568 แต่ถ้ากสทช.ไม่สามารถให้ความชัดเจนในประเด็นดังกล่าว ทีโอที จำเป็นต้องยื่นฟ้องศาลปกครองเพื่อชี้ขาดในประเด็นดังกล่าวต่อไป
“ประเด็น การคืนความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดนั้น ได้มีการถกเถียงกันมาหลายครั้งแล้ว แต่ไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน เนื่องจากทีโอที ก็ยืนยันว่า มีสิทธิ์ในคลื่นความถี่ที่ได้รับมาตั้งแต่อดีตและหากจะสิ้นสุดก็ต้องสิ้นสุด พร้อมๆ กันกับระยะเวลาการได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการคือ ปี 2568”
นอก จากนี้การคืนคลื่นก่อนระยะเวลาการได้รับอนุญาตจะสิ้นสุดนั้น ถือเป็นการลิดรอนสิทธิ์ของทีโอทีหรือไม่ แต่ขณะที่กสทช. ก็ยืนยันว่าทีโอทีจะต้องทยอยคืนคลื่นความถี่ให้ กสทช. โดยเฉพาะคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ที่ได้ให้สัมปทานมือถือแก่บริษัท แอดวานซ์? อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอสนั้น จะต้องคืนคลื่นในวันสิ้นสุดสัญญาสัมปทานคือเดือนกันยายน 2558 เพราะเป็นไปตามพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) กำหนด
อย่างไรก็ตาม จากการหารือเบื้องต้นของผู้บริหารทีโอทีแล้ว จึงได้มีข้อสรุปรวมกันว่า ควรทำหนังสือสอบถามไปยังกสทช.ก่อนในฐานะองค์กรกำกับดูแล แต่หากไม่มีความชัดเจนแล้ว ก็ต้องยื่นฟ้องศาลปกครองต่อไป ทั้งนี้ได้มีการแสดงความคิดเห็นกันอย่างหลากหลาย ซึ่งส่วนใหญ่มีความกังวลว่า การยื่นฟ้องร้องศาลปกครอง? จะส่งผลกระทบต่อการเปิดประมูลใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพท์มือถือ 3จี บนคลื่นความถี่? 2.1 กิกะเฮิรตซ์ (GHz)? ที่กสทช.คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในปีเดือนตุลาคม 2555 นี้ อาจต้องเลื่อนออกไป เนื่องจากเป็นการฟ้องแผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ ซึ่งมีส่วนสำคัญมากต่อการประมูล 3จี อีกทั้งทีโอที อาจถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ขัดขวางการเปิดประมูลและตัวถ่วงความเจริญของประเทศ ส่วนอีกฝ่ายก็เห็นว่า หากกสทช.จะเดินหน้าประมูล 3จี ในขณะที่เงื่อนไขการใช้คลื่นความถี่และการคืนความถี่ยังไม่ชัดเจน ก็จะสร้างปัญหาในอนาคตได้เช่นกัน
แนวหน้า
http://www.ryt9.com/s/nnd/1437667
ไม่มีความคิดเห็น: