27 เมษายน 2555 กสทช. คลื่นของตนคลื่นวิทยุ 1 ปณ.ภูเก็ต FM 89 นำร่อง ทีวี-วิทยุดิจิทัลเพื่อสาธารณประโยชน์ สู้ภัยภัยพิบัติ
กสทช. คลื่นของตนคลื่นวิทยุ 1 ปณ.ภูเก็ต FM 89 นำร่อง ทีวี-วิทยุดิจิทัลเพื่อสาธารณประโยชน์ สู้ภัยภัยพิบัติ
ประเด็นหลัก
น.ส.สุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะประธานอนุกรรมการภัยพิบัติในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ กล่าวว่าเนื่องจาก กสทช. สามารถเรียกคืนคลื่นวิทยุกลับมาอยู่ในความดูแลได้ 2 คลื่น และหนึ่งในนั้น คือ คลื่นวิทยุของ 1 ปณ.ภูเก็ต หรือ 89.00 เมกะเฮิร์ท โดยทาง กสทช.ต้องการนำคลื่นวิทยุดังกล่าวมาจัดสรรให้กับหน่วยงานในท้องถิ่นหรือ หน่วยงานราชการในฝั่งทะเลอันดามันได้ใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นช่องทางที่จะสื่อสารข้อมูลต่างๆ ไปยังประชาชน โดยเฉพาะเรื่องของภัยพิบัติ ซึ่งถือเป็นเรื่องเร่งด่วน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะอื่นๆ
_________________________________________________________
กสทช.เสนอภูเก็ตนำร่อง ทีวี-วิทยุดิจิทัล
กสทช.เสนอ จังหวัดภูเก็ต นำร่องโครงการโทรทัศน์-วิทยุดิจิทัล พร้อมยกคลื่นวิทยุ 1 ปณ.ให้ใช้ในกิจการเพื่อสาธารณประโยชน์ โดยเฉพาะภัยพิบัติ
ผศ.ดร.ธวัช ชัย จิตรภาษ์นันท์ พร้อมด้วย น.ส.สุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) พร้อมคณะ ได้เข้าพบหารือกับนายตรี อัครเดชา ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต ที่ห้องทำงาน ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต เพื่อนำเสนอคลื่นวิทยุกระจายเสียง 1 ปณ.ภูเก็ต ให้กับทางจังหวัดนำไปใช้ในการบริหารงานของจังหวัด โดยเฉพาะกรณีเกิดภัยพิบัติ พร้อมนำเสนอให้ภูเก็ตเป็นจังหวัดนำร่องในการพัฒนาโครงการโทรทัศน์และวิทยุดิ จิทัล
น.ส.สุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะประธานอนุกรรมการภัยพิบัติในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ กล่าวว่าเนื่องจาก กสทช. สามารถเรียกคืนคลื่นวิทยุกลับมาอยู่ในความดูแลได้ 2 คลื่น และหนึ่งในนั้น คือ คลื่นวิทยุของ 1 ปณ.ภูเก็ต หรือ 89.00 เมกะเฮิร์ท โดยทาง กสทช.ต้องการนำคลื่นวิทยุดังกล่าวมาจัดสรรให้กับหน่วยงานในท้องถิ่นหรือ หน่วยงานราชการในฝั่งทะเลอันดามันได้ใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นช่องทางที่จะสื่อสารข้อมูลต่างๆ ไปยังประชาชน โดยเฉพาะเรื่องของภัยพิบัติ ซึ่งถือเป็นเรื่องเร่งด่วน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะอื่นๆ
“เหตุที่นำมาเสนอ ให้กับทางจังหวัดเพื่อนำไปดำเนินการนั้น เนื่องจากขณะนี้อยู่ในระหว่างขั้นตอนการจัดระเบียบเพื่อออกเป็นประกาศเกี่ยว กับการจัดสรรคลื่นวิทยุ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ กิจการประเภทสาธารณะ ประเภทธุรกิจและประเภทชุมชน ซึ่งหากจังหวัดภูเก็ตสามารถดำเนินการได้ ก็จะใช้เป็นคลื่นวิทยุต้นแบบประเภทบริการสาธารณะ ซึ่งเน้นให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งจะได้นำไปพัฒนาเงื่อนไขในการออกใบอนุญาตประกอบการซึ่งอยู่ระหว่างการ พิจารณาต่อไป”
น.ส.สุภิญญา กล่าวว่า ในส่วนของการจัดสรรคลื่นวิทยุขณะนี้ถือเป็นช่วงของรอบต่อที่ทาง กสทช.เข้ามาดู และอยู่ระหว่างการกำหนดกติกาและเงื่อนไขต่างๆ ในการออกใบอนุญาต ซึ่งจะเน้นการบริการสาธารณะ โดยเฉพาะกรณีของการเกิดภัยพิบัติต่างๆ ซึ่งจะต้องอาศัยความร่วมมือจากสื่อทุประเภทในการนำเสนอข้อมูลที่ถูกต้อง และการประกาศเตือนภัยให้ทันท่วงที ซึ่งจะต้องมีการดำเนินการให้เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ส่วนของปัญหาระบบสื่อสารที่ล่มในช่วงดังกล่าวนั้นก็จะได้รับเรื่องไปเสนอให้ ทาง กสทช.ทราบ และจะได้นำไปหารือกับผู้ให้บริการหรือโอเปอเรชั่นว่าหากเกิดปัญหาเช่นนี้ ขึ้นจะสามารถดำเนินการได้อย่างไรบ้าง เนื่องจากในทางเทคนิคทราบว่าสามารถที่จะดำเนินการได้
ด้านนายตรี กล่าวว่า เป็นเรื่องที่น่ายินดีอย่างยิ่งที่ทาง กสทช.จะมอบคลื่นวิทยุให้กับทางจังหวัดนำมาบริหารจัดการเอง ซึ่งในรายละเอียดนั้นคงจะต้องมีการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับ จังหวัดว่าจะดำเนินการได้อย่างไรบ้างและมากน้อยเพียงใด รวมไปถึงการพัฒนาโครงการโทรทัศน์และวิทยุดิจิทัล เพื่อรองรับการเปลี่ยนระบบให้บริการจากอนาล็อกเป็นดิจิทัลในอนาคต ซึ่งต้องมีการหารือกันอีกครั้งเช่นกันว่าจะทำได้หรือไม่ ส่วนกรณีปัญหาระบบสื่อสารซึ่งไม่สามารถใช้งานได้ในช่วงที่เกิดภัยพิบัติขึ้น นั้นเขาก็ได้รับปากจะไปหารือกับผู้ให้บริการว่าจะสามารถแก้ปัญหาได้อย่างไร
กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20120427/449
036/%A1%CA%B7%AA.%E0%CA%B9%CD%C0%D9%E0%A1%E
7%B5%B9%D3%C3%E8%CD%A7-%B7%D5%C7%D5-
%C7%D4%B7%C2%D8%B4%D4%A8%D4%B7%D1%C5.html
ประเด็นหลัก
น.ส.สุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะประธานอนุกรรมการภัยพิบัติในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ กล่าวว่าเนื่องจาก กสทช. สามารถเรียกคืนคลื่นวิทยุกลับมาอยู่ในความดูแลได้ 2 คลื่น และหนึ่งในนั้น คือ คลื่นวิทยุของ 1 ปณ.ภูเก็ต หรือ 89.00 เมกะเฮิร์ท โดยทาง กสทช.ต้องการนำคลื่นวิทยุดังกล่าวมาจัดสรรให้กับหน่วยงานในท้องถิ่นหรือ หน่วยงานราชการในฝั่งทะเลอันดามันได้ใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นช่องทางที่จะสื่อสารข้อมูลต่างๆ ไปยังประชาชน โดยเฉพาะเรื่องของภัยพิบัติ ซึ่งถือเป็นเรื่องเร่งด่วน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะอื่นๆ
_________________________________________________________
กสทช.เสนอภูเก็ตนำร่อง ทีวี-วิทยุดิจิทัล
กสทช.เสนอ จังหวัดภูเก็ต นำร่องโครงการโทรทัศน์-วิทยุดิจิทัล พร้อมยกคลื่นวิทยุ 1 ปณ.ให้ใช้ในกิจการเพื่อสาธารณประโยชน์ โดยเฉพาะภัยพิบัติ
ผศ.ดร.ธวัช ชัย จิตรภาษ์นันท์ พร้อมด้วย น.ส.สุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) พร้อมคณะ ได้เข้าพบหารือกับนายตรี อัครเดชา ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต ที่ห้องทำงาน ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต เพื่อนำเสนอคลื่นวิทยุกระจายเสียง 1 ปณ.ภูเก็ต ให้กับทางจังหวัดนำไปใช้ในการบริหารงานของจังหวัด โดยเฉพาะกรณีเกิดภัยพิบัติ พร้อมนำเสนอให้ภูเก็ตเป็นจังหวัดนำร่องในการพัฒนาโครงการโทรทัศน์และวิทยุดิ จิทัล
น.ส.สุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะประธานอนุกรรมการภัยพิบัติในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ กล่าวว่าเนื่องจาก กสทช. สามารถเรียกคืนคลื่นวิทยุกลับมาอยู่ในความดูแลได้ 2 คลื่น และหนึ่งในนั้น คือ คลื่นวิทยุของ 1 ปณ.ภูเก็ต หรือ 89.00 เมกะเฮิร์ท โดยทาง กสทช.ต้องการนำคลื่นวิทยุดังกล่าวมาจัดสรรให้กับหน่วยงานในท้องถิ่นหรือ หน่วยงานราชการในฝั่งทะเลอันดามันได้ใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นช่องทางที่จะสื่อสารข้อมูลต่างๆ ไปยังประชาชน โดยเฉพาะเรื่องของภัยพิบัติ ซึ่งถือเป็นเรื่องเร่งด่วน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะอื่นๆ
“เหตุที่นำมาเสนอ ให้กับทางจังหวัดเพื่อนำไปดำเนินการนั้น เนื่องจากขณะนี้อยู่ในระหว่างขั้นตอนการจัดระเบียบเพื่อออกเป็นประกาศเกี่ยว กับการจัดสรรคลื่นวิทยุ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ กิจการประเภทสาธารณะ ประเภทธุรกิจและประเภทชุมชน ซึ่งหากจังหวัดภูเก็ตสามารถดำเนินการได้ ก็จะใช้เป็นคลื่นวิทยุต้นแบบประเภทบริการสาธารณะ ซึ่งเน้นให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งจะได้นำไปพัฒนาเงื่อนไขในการออกใบอนุญาตประกอบการซึ่งอยู่ระหว่างการ พิจารณาต่อไป”
น.ส.สุภิญญา กล่าวว่า ในส่วนของการจัดสรรคลื่นวิทยุขณะนี้ถือเป็นช่วงของรอบต่อที่ทาง กสทช.เข้ามาดู และอยู่ระหว่างการกำหนดกติกาและเงื่อนไขต่างๆ ในการออกใบอนุญาต ซึ่งจะเน้นการบริการสาธารณะ โดยเฉพาะกรณีของการเกิดภัยพิบัติต่างๆ ซึ่งจะต้องอาศัยความร่วมมือจากสื่อทุประเภทในการนำเสนอข้อมูลที่ถูกต้อง และการประกาศเตือนภัยให้ทันท่วงที ซึ่งจะต้องมีการดำเนินการให้เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ส่วนของปัญหาระบบสื่อสารที่ล่มในช่วงดังกล่าวนั้นก็จะได้รับเรื่องไปเสนอให้ ทาง กสทช.ทราบ และจะได้นำไปหารือกับผู้ให้บริการหรือโอเปอเรชั่นว่าหากเกิดปัญหาเช่นนี้ ขึ้นจะสามารถดำเนินการได้อย่างไรบ้าง เนื่องจากในทางเทคนิคทราบว่าสามารถที่จะดำเนินการได้
ด้านนายตรี กล่าวว่า เป็นเรื่องที่น่ายินดีอย่างยิ่งที่ทาง กสทช.จะมอบคลื่นวิทยุให้กับทางจังหวัดนำมาบริหารจัดการเอง ซึ่งในรายละเอียดนั้นคงจะต้องมีการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับ จังหวัดว่าจะดำเนินการได้อย่างไรบ้างและมากน้อยเพียงใด รวมไปถึงการพัฒนาโครงการโทรทัศน์และวิทยุดิจิทัล เพื่อรองรับการเปลี่ยนระบบให้บริการจากอนาล็อกเป็นดิจิทัลในอนาคต ซึ่งต้องมีการหารือกันอีกครั้งเช่นกันว่าจะทำได้หรือไม่ ส่วนกรณีปัญหาระบบสื่อสารซึ่งไม่สามารถใช้งานได้ในช่วงที่เกิดภัยพิบัติขึ้น นั้นเขาก็ได้รับปากจะไปหารือกับผู้ให้บริการว่าจะสามารถแก้ปัญหาได้อย่างไร
กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20120427/449
036/%A1%CA%B7%AA.%E0%CA%B9%CD%C0%D9%E0%A1%E
7%B5%B9%D3%C3%E8%CD%A7-%B7%D5%C7%D5-
%C7%D4%B7%C2%D8%B4%D4%A8%D4%B7%D1%C5.html
ไม่มีความคิดเห็น: