22 พฤศจิกายน 2555 (เกาะติดประมูล3G) การตรวจสอบข้อมูลวันนี้ ถือว่าครบถ้วนแล้ว โดยได้เชิญสมาคมธนาคารแห่งประเทศไทยมาชี้แจง แล้วว่าไม่ฮั่ว
ประเด็นหลัก
ไม่หวั่นถูกมองสอบเอื้อเอกชน
ส่วนกรณีนางสาวสุภา ปิยะจิตติ รองปลัดกระทรวงการคลัง และนายสมเกียรติ ตั้งกิจวานิช ประธานสถาบันเพื่อการวิจัยและพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ปฏิเสธเข้าชี้แจง กับคณะทำงานฯ ที่เชิญมาก่อนหน้านี้ คิดว่าจะไม่ส่งผลทำให้ความน่าเชื่อถือของคณะทำงานลดลง และถือว่าคณะทำงานได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างครบถ้วนแล้ว
ส่วนประเด็นที่ถูกมองว่า คณะทำงานชุดนี้ถูกตั้งโดยกสทช. ทำให้ไม่มีความเป็นอิสระในการตรวจสอบ เขาขอยืนยันว่า คณะทำงาน ไม่เคยตั้งธงในการสอบสวน การพิจารณาได้ใช้กระบวนการทางข้อมูลทุกด้าน ที่มีอำนาจตรวจสอบ เพื่อวินิจฉัยประเด็นเดียวว่า ทั้ง 3 รายฮั้วกันหรือไม่
“การสอบสวน ก็ต้องพิจารณาหลายมิติ ทั้งด้านกฎหมาย เศรษฐกิจ ผลประโยชน์ของชาติ ประโยชน์ประชาชน รวมถึงเอกชนในการลงทุนด้วย เพราะเอกชนต้องลงทุนเพิ่มเติมในอนาคต ซึ่งการดำเนินการก็ต้องคุ้มทุน และประเมินได้ว่าการดำเนินการต้องมีระยะเวลาที่กำหนด เค้าถึงกล้าเข้ามาประมูล รวมถึงต้องมองไปถึงการลงทุนการประมูลในอนาคตด้วย ในมุมของรัฐดูว่า จะได้ผลประโยชน์คุ้มค่าหรือไม่ ส่วนประชาชนจะได้รับการบริการที่ดี ราคาที่เหมาะสม เป็นธรรมหรือไม่”
ทั้งนี้ คณะทำงานขอขยายเวลาการสอบรวม 2 ครั้ง และจะสรุปภายในวันที่ 30 พ.ย.นี้ ซึ่งต้องเร่งทำในเวลาที่เหมาะสม เพราะการสอบจะส่งผลกระทบกับเอกชนที่ประมูลได้ เพราะลงทุนไปแล้ว และเสียดอกเบี้ยรายเดือน และขณะนี้ยังเริ่มงานไม่ได้ หากสรุปผลได้เร็ว กสทช.ก็จะเร่งออกใบอนุญาตให้ได้ตามปกติใน 7 วัน หลังจากรับรองผลการสอบสวนแล้ว
ขณะที่นายจิตต์นรา นวรัตน์ คณะอนุกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) และหนึ่งในคณะทำงานสอบฮั้ว ระบุว่า การตรวจสอบข้อมูลวันนี้ ถือว่าครบถ้วนแล้ว โดยได้เชิญสมาคมธนาคารแห่งประเทศไทยมาชี้แจง โดยได้รับคำยืนยันว่า ไม่มีการกีดกันในการออกสินเชื่อให้เอกชน โดยให้สินเชื่อเท่าเทียมกันทุกราย
ประเด็นที่คณะทำงานสอบถามเกี่ยวกับวิธีการให้สินเชื่อเป็นอย่างไร, มีผู้ประกอบการรายใดมาขอบ้าง, มีรายไหนที่มาขอแล้วธนาคารไม่ให้บ้าง ซึ่งทราบว่ามีไปขอสินเชื่อแค่ 3 รายเท่านั้น แต่ไม่ได้ขอพร้อมกัน
“เราได้รับคำชี้แจงจากธนาคาร ในการพิจารณาให้สินเชื่อ ซึ่งจะดูว่า บริษัทที่มาขอมีความสามารถในการคืน หรือชำระหนี้หรือไม่ มีประสบการณ์ด้านการทำโครงการในด้านโทรคมนาคมมาก่อนหรือไม่ รวมทั้ง การประกอบธุรกิจมีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน”
_______________________________________
คณะสอบฮั้วเคาะ "ประมูล3จี" โปร่งใส
นัดทำร่างสรุป 23 พ.ย. ชง กสทช. สิ้นเดือน เสียงแข็งการทำงานไม่เคยตั้งธงในใจ สอบสวนไปตามเนื้อผ้า "กลุ่มทรู" ออกโรงท้วงไลเซ่น 3จี
"สุวิจักษณ์"ลงมติผลสอบประมูล 3จีไม่พบค่ายมือถือมีพฤติกรรมสมยอมราคา นัดประชุมเร่งทำดร๊าฟ 23 พ.ย.นี้ ก่อนชงเข้า กสทช. สิ้นเดือนนี้ หากไม่ติดปัญหาพร้อมเข้าสู่วาระบอร์ด กมค. ทันที เสียงแข็งการทำงานไม่เคยตั้งธงในใจ สอบสวนไปตามเนื้อผ้าไม่หวั่นสังคมมองเอื้อเอกชน ส่วน "สุภา-สมเกียรติ" ปัดให้ข้อมูลถือเป็นสิทธิส่วนตัวที่ทำได้ ขณะที่ "กลุ่มทรู" ออกโรงท้วงไลเซ่น 3จีจาก กสทช. อ้างตามระเบียบราชการเมื่อจ่ายค่าไลเซ่นงวดแรกครบแล้ว ควรได้รับใบอนุญาตมาเปิดให้บริการ
นายสุวิจักษณ์ นาควัชระชัย เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ในฐานะประธานคณะทำงานตรวจสอบพฤติกรรมการเคาะราคา การประมูลใบอนุญาต (ไลเซ่น) 3จีในย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ หรือ คณะทำงานสอบฮั้ว หลังจากที่คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้จัดการประมูลใบอนุญาต 3จีเมื่อวันที่ 16 ต.ค.ที่ผ่านมา
กล่าวภายหลังประชุมคณะทำงานฮั้วว่า ได้ร่างข้อสรุปผลสอบสวนเอาไว้แล้ว เพื่อเตรียมจะสรุปผลสอบอย่างเป็นทางการ โดยจะนัดประชุมเพื่อทำรายงานอีกครั้งวันที่ 23 พ.ย.นี้ และจะเสนอนายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการ กสทช. วันที่ 30 พ.ย.นี้ เพื่อเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) ต่อไป
สำหรับประเด็น ที่คณะทำงานพิจารณานั้น ดูเพียงประเด็นเดียว คือ ผู้เข้าร่วมประมูลทั้ง 3 ราย ได้แก่ บริษัท แอดวานซ์ ไวรเลส เน็ทเวอร์ค (เอดับบลิวเอ็น) ในเครือบมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (เอไอเอส) บริษัท ดีแทค เน็ทเวอร์ค (ดีทีเอ็น) ในเครือบมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) และบริษัท เรียล ฟิวเจอร์ ในเครือกลุ่มทรู มีพฤติกรรมการฮั้วประมูลหรือสมยอมราคาหรือไม่ โดยการพิจารณาจะดูตั้งแต่ก่อนการประมูล ในระหว่างการประมูล และภายหลังการประมูล
“คณะทำงานตรวจสอบแล้ว ยืนยันตามเดิมว่าไม่พบว่ามีเอกชนฮั้วประมูล เพราะเป็นการประมูลตามกติกาของ กสทช.ทุกขั้นตอน ส่วนข้อสังเกตที่ว่า หลักเกณฑ์ของ กสทช. ไม่เอื้อให้เอกชนเกิดแรงจูงใจในการแข่งขันราคา อำนาจของคณะทำงานไปไม่ถึงตรงนั้น อำนาจเราดูแค่พฤติกรรมการของเอกชน ซึ่งพบว่าทั้ง 3 ราย สู้ราคากันตามปกติ ถูกต้องทุกขั้นตอน"
ไม่หวั่นถูกมองสอบเอื้อเอกชน
ส่วนกรณีนางสาวสุภา ปิยะจิตติ รองปลัดกระทรวงการคลัง และนายสมเกียรติ ตั้งกิจวานิช ประธานสถาบันเพื่อการวิจัยและพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ปฏิเสธเข้าชี้แจง กับคณะทำงานฯ ที่เชิญมาก่อนหน้านี้ คิดว่าจะไม่ส่งผลทำให้ความน่าเชื่อถือของคณะทำงานลดลง และถือว่าคณะทำงานได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างครบถ้วนแล้ว
ส่วนประเด็นที่ถูกมองว่า คณะทำงานชุดนี้ถูกตั้งโดยกสทช. ทำให้ไม่มีความเป็นอิสระในการตรวจสอบ เขาขอยืนยันว่า คณะทำงาน ไม่เคยตั้งธงในการสอบสวน การพิจารณาได้ใช้กระบวนการทางข้อมูลทุกด้าน ที่มีอำนาจตรวจสอบ เพื่อวินิจฉัยประเด็นเดียวว่า ทั้ง 3 รายฮั้วกันหรือไม่
“การสอบสวน ก็ต้องพิจารณาหลายมิติ ทั้งด้านกฎหมาย เศรษฐกิจ ผลประโยชน์ของชาติ ประโยชน์ประชาชน รวมถึงเอกชนในการลงทุนด้วย เพราะเอกชนต้องลงทุนเพิ่มเติมในอนาคต ซึ่งการดำเนินการก็ต้องคุ้มทุน และประเมินได้ว่าการดำเนินการต้องมีระยะเวลาที่กำหนด เค้าถึงกล้าเข้ามาประมูล รวมถึงต้องมองไปถึงการลงทุนการประมูลในอนาคตด้วย ในมุมของรัฐดูว่า จะได้ผลประโยชน์คุ้มค่าหรือไม่ ส่วนประชาชนจะได้รับการบริการที่ดี ราคาที่เหมาะสม เป็นธรรมหรือไม่”
ทั้งนี้ คณะทำงานขอขยายเวลาการสอบรวม 2 ครั้ง และจะสรุปภายในวันที่ 30 พ.ย.นี้ ซึ่งต้องเร่งทำในเวลาที่เหมาะสม เพราะการสอบจะส่งผลกระทบกับเอกชนที่ประมูลได้ เพราะลงทุนไปแล้ว และเสียดอกเบี้ยรายเดือน และขณะนี้ยังเริ่มงานไม่ได้ หากสรุปผลได้เร็ว กสทช.ก็จะเร่งออกใบอนุญาตให้ได้ตามปกติใน 7 วัน หลังจากรับรองผลการสอบสวนแล้ว
ขณะที่นายจิตต์นรา นวรัตน์ คณะอนุกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) และหนึ่งในคณะทำงานสอบฮั้ว ระบุว่า การตรวจสอบข้อมูลวันนี้ ถือว่าครบถ้วนแล้ว โดยได้เชิญสมาคมธนาคารแห่งประเทศไทยมาชี้แจง โดยได้รับคำยืนยันว่า ไม่มีการกีดกันในการออกสินเชื่อให้เอกชน โดยให้สินเชื่อเท่าเทียมกันทุกราย
ประเด็นที่คณะทำงานสอบถามเกี่ยวกับวิธีการให้สินเชื่อเป็นอย่างไร, มีผู้ประกอบการรายใดมาขอบ้าง, มีรายไหนที่มาขอแล้วธนาคารไม่ให้บ้าง ซึ่งทราบว่ามีไปขอสินเชื่อแค่ 3 รายเท่านั้น แต่ไม่ได้ขอพร้อมกัน
“เราได้รับคำชี้แจงจากธนาคาร ในการพิจารณาให้สินเชื่อ ซึ่งจะดูว่า บริษัทที่มาขอมีความสามารถในการคืน หรือชำระหนี้หรือไม่ มีประสบการณ์ด้านการทำโครงการในด้านโทรคมนาคมมาก่อนหรือไม่ รวมทั้ง การประกอบธุรกิจมีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน”
กทค.รอผลสรุปก่อนแจกไลเซ่น
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานกสทช.ในฐานะประธานกทค.กล่าวว่า ขณะนี้ ยังไม่สามารถพิจารณาออกใบอนุญาต 3จี ให้เอกชนได้ตามร้องขอ เนื่องจากเงื่อนไข 3 ประเด็น ที่กสทช.ต้องการรอฟังผลสรุปให้ชัดเจนก่อน จนถึงขณะนี้กระบวนการทั้งหมดยังไม่เสร็จ ต้องความชัดเจน 3 ประการ คือ ผลคำสั่งไต่สวนฉุกเฉินของศาลปกครอง คดีที่สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ยื่นเพิกถอนประกาศการจัดประมูล เมื่อวันที่ 16 ต.ค. ที่จะทำให้ทราบว่า ศาลจะมีคำสั่งคุ้มครองระงับการแจกใบอนุญาตให้เอกชนด้วยหรือไม่ ซี่งจนถึงขณะนี้ศาลยังไม่มีคำสั่งใด
ประเด็นที่ 2 คือ ผลสอบของคณะทำงานตรวจสอบพฤติกรรมการฮั้วประมูล ที่ กสทช.แต่งขึ้น และเตรียมสรุปผลสัปดาห์นี้ และ 3. คือการกำหนดอัตราค่าบริการขั้นสูง โดยระหว่างที่จะออกเป็นประกาศมาบังคับใช้ ทาง กสทช. ได้ขอความร่วมมือกับเอกชนให้ช่วยสรุปแผนที่จะลดราคาค่าบริการประเภทเสียง และข้อมูล หรือดาต้า ลงให้ประชาชนอีก 15-20% โดยให้ส่งแผนภายในวันที่ 30 พ.ย.นี้ จากเดิมที่เลื่อนมาจากวันที่ 22 พ.ย. หากทั้ง 3 ประเด็น ยังไม่ได้ข้อสรุป ก็จะไม่พิจารณาออกใบอนุญาต 3 จี ให้เอกชนแน่นอน
ทรูท้วงไลเซ่น3จีจากกสทช.
นายอธึก อัศวานันท์ รองประธานกรรมการ และหัวหน้าคณะกลุ่มกฎหมาย กลุ่มทรู กล่าวว่า ตามระเบียบ และหลักเกณฑ์ของ กสทช. แล้ว เมื่อเอกชนได้ลงนามยืนยันรับรองราคาประมูลสูงสุดว่าเป็นจำนวนเท่าไรแล้ว ก็ถือว่าการประมูลเสร็จสิ้น รวมทั้งเอกชนได้จ่ายค่าใบอนุญาต ในอัตรา 50% ของมูลค่าที่ประมูลใบอนุญาตได้ โดยทรูชำระ 5,872 ล้านบาท รวมถึงหนังสือรับรองทางการเงิน (แบงก์การันตี) ที่ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว กสทช.ต้องมีหน้าที่ออกใบอนุญาตให้เอกชนทันที
"ที่ว่าต้องทันทีเพราะเป็นไปตามระเบียบราชการปกติ ในเมื่อเราทำเสร็จแล้ว คุณจะบ่ายเบี่ยงไม่ได้ ส่วนที่ กสทช. บอกว่าจะต้องให้ใบอนุญาตภายใน 90 วัน นั่นคือ สิทธิ์ของเอกชนผู้เข้าประมูล จะต้องจ่ายเงินเมื่อไรก็ได้ภายใน 90 วัน แต่นี่คือเราได้จ่ายเงินไปแล้วถูกต้อมตามหลักเกณฑ์ ซึ่งการที่เราต้องรีบจ่ายเงิน เพราะเป็นเรื่องของการแข่งขัน ใครทำโครงข่ายเสร็จก่อน คนนั้นก็มีสิทธิ์เปิดให้บริการ 3จี ได้ก่อน และมีโอกาสได้ลูกค้าดีๆ มาก่อน"
ส่วนเรื่องประกาศกำหนดอัตราขั้นสูง ที่กสทช.กำหนด และบังคับให้เอกชนลดราคาค่าบริการทางเสียง และข้อมูล (ดาต้า) ลง 15-20% จากอัตราปัจจุบัน ถือเป็นคนละเรื่องกัน และเรื่องนี้ก็ไม่ได้อยู่ในเงื่อนไขการประมูล แต่ยังไม่สามารถบอกได้บอกว่าทรูจะทำตามที่ขอไม่ได้ อย่างไรก็ดี ก่อนอื่้นกสทช.จะต้องมาบอกว่า เป็นเงื่อนไขที่ต้องให้เอกชนทำตาม เพราะสิ่งที่จะเกิดมันยังไม่เกิด แต่เรื่องใบอนุญาตที่ควรจะเกิดแต่ทำไมถึงไม่ได้รับเสียที
"ตามกฎของกสทช. ก็คือ เมื่อเราทำทุกอย่างที่เอกชนจะต้องทำหลังจากเสร็จการประมูลแล้ว ก็ต้องให้ใบอนุญาตทันที แต่เรื่องนี้ยังไม่คิดจะฟ้องร้อง เพราะเห็นใจ กสทช.ที่มีคดีเกิดขึ้นเยอะแล้ว สิ่งที่ควรจะเกิดตอนนี้คือใบอนุญาตต้องมาอยู่กับเอกชนแล้ว หากใบอนุญาตไม่มา ตกลงพวกผมจะได้ทำหรือไม่ แล้วคุณมาสั่งให้ผมลงทุน มันต้องแฟร์ๆ คุณก็ต้องออกใบอนุญาตให้ผม แล้วเงื่อนไขต่อไปที่ กสทช.จะสั่งทำให้ทำอะไร ก็บอกมา ผมก็จะทำไปให้เรื่อยๆ แต่ตอนนี้ใบอนุญาตไม่ออก แล้วมาต่อรองกันแบบนี้ มันไม่ถูก"
ขณะที่นายดามพ์ สุคนธทรัพย์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ดีแทค ระบุว่า หากได้ใบอนุญาตโดยเร็วเท่าไร จะเป็นเรื่องที่ดี เพราะใบอนุญาตจะต้องนำไปใช้เพื่อประโยชน์ในการนำเข้าอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับบริการ 3 จี ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องได้รับใบอนุญาตโดยเร็ว ขณะนี้ส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับใบอนุญาต ดีแทคได้ดำเนินการโดยเร็วและคาดว่าจะเปิดให้บริการ 3 จี ให้ลูกค้าได้ภายใน ต้นไตรมาสที่ 2 ปีหน้า
อย่างไรก็ดี เขากังวลกระบวนการต่างๆ จะทำให้ใบอนุญาตล่าช้า และเปิดให้บริการ 3 จีไม่ได้ ส่วนการลดค่าบริการทั้งด้านเสียง และข้อมูล เชื่อว่าก่อน 30 พ.ย.นี้ ดีแทคจะพร้อมเสนอแนวคิดให้กสทช.รับทราบ โดยคิดว่าเมื่อเปิดให้บริการ และภาระการแข่งขันในตลาดที่เข้มข้น ประโยชน์สูงสุดจะอยู่ผู้บริโภค
กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20121122/479
173/%A4%B3%D0%CA%CD%BA%CE%D1%E9%C7%E0%A4%D2
%D0-%BB%C3%D0%C1%D9%C53%A8%D5-
%E2%BB%C3%E8%A7%E3%CA.html
ไม่หวั่นถูกมองสอบเอื้อเอกชน
ส่วนกรณีนางสาวสุภา ปิยะจิตติ รองปลัดกระทรวงการคลัง และนายสมเกียรติ ตั้งกิจวานิช ประธานสถาบันเพื่อการวิจัยและพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ปฏิเสธเข้าชี้แจง กับคณะทำงานฯ ที่เชิญมาก่อนหน้านี้ คิดว่าจะไม่ส่งผลทำให้ความน่าเชื่อถือของคณะทำงานลดลง และถือว่าคณะทำงานได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างครบถ้วนแล้ว
ส่วนประเด็นที่ถูกมองว่า คณะทำงานชุดนี้ถูกตั้งโดยกสทช. ทำให้ไม่มีความเป็นอิสระในการตรวจสอบ เขาขอยืนยันว่า คณะทำงาน ไม่เคยตั้งธงในการสอบสวน การพิจารณาได้ใช้กระบวนการทางข้อมูลทุกด้าน ที่มีอำนาจตรวจสอบ เพื่อวินิจฉัยประเด็นเดียวว่า ทั้ง 3 รายฮั้วกันหรือไม่
“การสอบสวน ก็ต้องพิจารณาหลายมิติ ทั้งด้านกฎหมาย เศรษฐกิจ ผลประโยชน์ของชาติ ประโยชน์ประชาชน รวมถึงเอกชนในการลงทุนด้วย เพราะเอกชนต้องลงทุนเพิ่มเติมในอนาคต ซึ่งการดำเนินการก็ต้องคุ้มทุน และประเมินได้ว่าการดำเนินการต้องมีระยะเวลาที่กำหนด เค้าถึงกล้าเข้ามาประมูล รวมถึงต้องมองไปถึงการลงทุนการประมูลในอนาคตด้วย ในมุมของรัฐดูว่า จะได้ผลประโยชน์คุ้มค่าหรือไม่ ส่วนประชาชนจะได้รับการบริการที่ดี ราคาที่เหมาะสม เป็นธรรมหรือไม่”
ทั้งนี้ คณะทำงานขอขยายเวลาการสอบรวม 2 ครั้ง และจะสรุปภายในวันที่ 30 พ.ย.นี้ ซึ่งต้องเร่งทำในเวลาที่เหมาะสม เพราะการสอบจะส่งผลกระทบกับเอกชนที่ประมูลได้ เพราะลงทุนไปแล้ว และเสียดอกเบี้ยรายเดือน และขณะนี้ยังเริ่มงานไม่ได้ หากสรุปผลได้เร็ว กสทช.ก็จะเร่งออกใบอนุญาตให้ได้ตามปกติใน 7 วัน หลังจากรับรองผลการสอบสวนแล้ว
ขณะที่นายจิตต์นรา นวรัตน์ คณะอนุกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) และหนึ่งในคณะทำงานสอบฮั้ว ระบุว่า การตรวจสอบข้อมูลวันนี้ ถือว่าครบถ้วนแล้ว โดยได้เชิญสมาคมธนาคารแห่งประเทศไทยมาชี้แจง โดยได้รับคำยืนยันว่า ไม่มีการกีดกันในการออกสินเชื่อให้เอกชน โดยให้สินเชื่อเท่าเทียมกันทุกราย
ประเด็นที่คณะทำงานสอบถามเกี่ยวกับวิธีการให้สินเชื่อเป็นอย่างไร, มีผู้ประกอบการรายใดมาขอบ้าง, มีรายไหนที่มาขอแล้วธนาคารไม่ให้บ้าง ซึ่งทราบว่ามีไปขอสินเชื่อแค่ 3 รายเท่านั้น แต่ไม่ได้ขอพร้อมกัน
“เราได้รับคำชี้แจงจากธนาคาร ในการพิจารณาให้สินเชื่อ ซึ่งจะดูว่า บริษัทที่มาขอมีความสามารถในการคืน หรือชำระหนี้หรือไม่ มีประสบการณ์ด้านการทำโครงการในด้านโทรคมนาคมมาก่อนหรือไม่ รวมทั้ง การประกอบธุรกิจมีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน”
_______________________________________
คณะสอบฮั้วเคาะ "ประมูล3จี" โปร่งใส
นัดทำร่างสรุป 23 พ.ย. ชง กสทช. สิ้นเดือน เสียงแข็งการทำงานไม่เคยตั้งธงในใจ สอบสวนไปตามเนื้อผ้า "กลุ่มทรู" ออกโรงท้วงไลเซ่น 3จี
"สุวิจักษณ์"ลงมติผลสอบประมูล 3จีไม่พบค่ายมือถือมีพฤติกรรมสมยอมราคา นัดประชุมเร่งทำดร๊าฟ 23 พ.ย.นี้ ก่อนชงเข้า กสทช. สิ้นเดือนนี้ หากไม่ติดปัญหาพร้อมเข้าสู่วาระบอร์ด กมค. ทันที เสียงแข็งการทำงานไม่เคยตั้งธงในใจ สอบสวนไปตามเนื้อผ้าไม่หวั่นสังคมมองเอื้อเอกชน ส่วน "สุภา-สมเกียรติ" ปัดให้ข้อมูลถือเป็นสิทธิส่วนตัวที่ทำได้ ขณะที่ "กลุ่มทรู" ออกโรงท้วงไลเซ่น 3จีจาก กสทช. อ้างตามระเบียบราชการเมื่อจ่ายค่าไลเซ่นงวดแรกครบแล้ว ควรได้รับใบอนุญาตมาเปิดให้บริการ
นายสุวิจักษณ์ นาควัชระชัย เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ในฐานะประธานคณะทำงานตรวจสอบพฤติกรรมการเคาะราคา การประมูลใบอนุญาต (ไลเซ่น) 3จีในย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ หรือ คณะทำงานสอบฮั้ว หลังจากที่คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้จัดการประมูลใบอนุญาต 3จีเมื่อวันที่ 16 ต.ค.ที่ผ่านมา
กล่าวภายหลังประชุมคณะทำงานฮั้วว่า ได้ร่างข้อสรุปผลสอบสวนเอาไว้แล้ว เพื่อเตรียมจะสรุปผลสอบอย่างเป็นทางการ โดยจะนัดประชุมเพื่อทำรายงานอีกครั้งวันที่ 23 พ.ย.นี้ และจะเสนอนายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการ กสทช. วันที่ 30 พ.ย.นี้ เพื่อเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) ต่อไป
สำหรับประเด็น ที่คณะทำงานพิจารณานั้น ดูเพียงประเด็นเดียว คือ ผู้เข้าร่วมประมูลทั้ง 3 ราย ได้แก่ บริษัท แอดวานซ์ ไวรเลส เน็ทเวอร์ค (เอดับบลิวเอ็น) ในเครือบมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (เอไอเอส) บริษัท ดีแทค เน็ทเวอร์ค (ดีทีเอ็น) ในเครือบมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) และบริษัท เรียล ฟิวเจอร์ ในเครือกลุ่มทรู มีพฤติกรรมการฮั้วประมูลหรือสมยอมราคาหรือไม่ โดยการพิจารณาจะดูตั้งแต่ก่อนการประมูล ในระหว่างการประมูล และภายหลังการประมูล
“คณะทำงานตรวจสอบแล้ว ยืนยันตามเดิมว่าไม่พบว่ามีเอกชนฮั้วประมูล เพราะเป็นการประมูลตามกติกาของ กสทช.ทุกขั้นตอน ส่วนข้อสังเกตที่ว่า หลักเกณฑ์ของ กสทช. ไม่เอื้อให้เอกชนเกิดแรงจูงใจในการแข่งขันราคา อำนาจของคณะทำงานไปไม่ถึงตรงนั้น อำนาจเราดูแค่พฤติกรรมการของเอกชน ซึ่งพบว่าทั้ง 3 ราย สู้ราคากันตามปกติ ถูกต้องทุกขั้นตอน"
ไม่หวั่นถูกมองสอบเอื้อเอกชน
ส่วนกรณีนางสาวสุภา ปิยะจิตติ รองปลัดกระทรวงการคลัง และนายสมเกียรติ ตั้งกิจวานิช ประธานสถาบันเพื่อการวิจัยและพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ปฏิเสธเข้าชี้แจง กับคณะทำงานฯ ที่เชิญมาก่อนหน้านี้ คิดว่าจะไม่ส่งผลทำให้ความน่าเชื่อถือของคณะทำงานลดลง และถือว่าคณะทำงานได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างครบถ้วนแล้ว
ส่วนประเด็นที่ถูกมองว่า คณะทำงานชุดนี้ถูกตั้งโดยกสทช. ทำให้ไม่มีความเป็นอิสระในการตรวจสอบ เขาขอยืนยันว่า คณะทำงาน ไม่เคยตั้งธงในการสอบสวน การพิจารณาได้ใช้กระบวนการทางข้อมูลทุกด้าน ที่มีอำนาจตรวจสอบ เพื่อวินิจฉัยประเด็นเดียวว่า ทั้ง 3 รายฮั้วกันหรือไม่
“การสอบสวน ก็ต้องพิจารณาหลายมิติ ทั้งด้านกฎหมาย เศรษฐกิจ ผลประโยชน์ของชาติ ประโยชน์ประชาชน รวมถึงเอกชนในการลงทุนด้วย เพราะเอกชนต้องลงทุนเพิ่มเติมในอนาคต ซึ่งการดำเนินการก็ต้องคุ้มทุน และประเมินได้ว่าการดำเนินการต้องมีระยะเวลาที่กำหนด เค้าถึงกล้าเข้ามาประมูล รวมถึงต้องมองไปถึงการลงทุนการประมูลในอนาคตด้วย ในมุมของรัฐดูว่า จะได้ผลประโยชน์คุ้มค่าหรือไม่ ส่วนประชาชนจะได้รับการบริการที่ดี ราคาที่เหมาะสม เป็นธรรมหรือไม่”
ทั้งนี้ คณะทำงานขอขยายเวลาการสอบรวม 2 ครั้ง และจะสรุปภายในวันที่ 30 พ.ย.นี้ ซึ่งต้องเร่งทำในเวลาที่เหมาะสม เพราะการสอบจะส่งผลกระทบกับเอกชนที่ประมูลได้ เพราะลงทุนไปแล้ว และเสียดอกเบี้ยรายเดือน และขณะนี้ยังเริ่มงานไม่ได้ หากสรุปผลได้เร็ว กสทช.ก็จะเร่งออกใบอนุญาตให้ได้ตามปกติใน 7 วัน หลังจากรับรองผลการสอบสวนแล้ว
ขณะที่นายจิตต์นรา นวรัตน์ คณะอนุกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) และหนึ่งในคณะทำงานสอบฮั้ว ระบุว่า การตรวจสอบข้อมูลวันนี้ ถือว่าครบถ้วนแล้ว โดยได้เชิญสมาคมธนาคารแห่งประเทศไทยมาชี้แจง โดยได้รับคำยืนยันว่า ไม่มีการกีดกันในการออกสินเชื่อให้เอกชน โดยให้สินเชื่อเท่าเทียมกันทุกราย
ประเด็นที่คณะทำงานสอบถามเกี่ยวกับวิธีการให้สินเชื่อเป็นอย่างไร, มีผู้ประกอบการรายใดมาขอบ้าง, มีรายไหนที่มาขอแล้วธนาคารไม่ให้บ้าง ซึ่งทราบว่ามีไปขอสินเชื่อแค่ 3 รายเท่านั้น แต่ไม่ได้ขอพร้อมกัน
“เราได้รับคำชี้แจงจากธนาคาร ในการพิจารณาให้สินเชื่อ ซึ่งจะดูว่า บริษัทที่มาขอมีความสามารถในการคืน หรือชำระหนี้หรือไม่ มีประสบการณ์ด้านการทำโครงการในด้านโทรคมนาคมมาก่อนหรือไม่ รวมทั้ง การประกอบธุรกิจมีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน”
กทค.รอผลสรุปก่อนแจกไลเซ่น
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานกสทช.ในฐานะประธานกทค.กล่าวว่า ขณะนี้ ยังไม่สามารถพิจารณาออกใบอนุญาต 3จี ให้เอกชนได้ตามร้องขอ เนื่องจากเงื่อนไข 3 ประเด็น ที่กสทช.ต้องการรอฟังผลสรุปให้ชัดเจนก่อน จนถึงขณะนี้กระบวนการทั้งหมดยังไม่เสร็จ ต้องความชัดเจน 3 ประการ คือ ผลคำสั่งไต่สวนฉุกเฉินของศาลปกครอง คดีที่สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ยื่นเพิกถอนประกาศการจัดประมูล เมื่อวันที่ 16 ต.ค. ที่จะทำให้ทราบว่า ศาลจะมีคำสั่งคุ้มครองระงับการแจกใบอนุญาตให้เอกชนด้วยหรือไม่ ซี่งจนถึงขณะนี้ศาลยังไม่มีคำสั่งใด
ประเด็นที่ 2 คือ ผลสอบของคณะทำงานตรวจสอบพฤติกรรมการฮั้วประมูล ที่ กสทช.แต่งขึ้น และเตรียมสรุปผลสัปดาห์นี้ และ 3. คือการกำหนดอัตราค่าบริการขั้นสูง โดยระหว่างที่จะออกเป็นประกาศมาบังคับใช้ ทาง กสทช. ได้ขอความร่วมมือกับเอกชนให้ช่วยสรุปแผนที่จะลดราคาค่าบริการประเภทเสียง และข้อมูล หรือดาต้า ลงให้ประชาชนอีก 15-20% โดยให้ส่งแผนภายในวันที่ 30 พ.ย.นี้ จากเดิมที่เลื่อนมาจากวันที่ 22 พ.ย. หากทั้ง 3 ประเด็น ยังไม่ได้ข้อสรุป ก็จะไม่พิจารณาออกใบอนุญาต 3 จี ให้เอกชนแน่นอน
ทรูท้วงไลเซ่น3จีจากกสทช.
นายอธึก อัศวานันท์ รองประธานกรรมการ และหัวหน้าคณะกลุ่มกฎหมาย กลุ่มทรู กล่าวว่า ตามระเบียบ และหลักเกณฑ์ของ กสทช. แล้ว เมื่อเอกชนได้ลงนามยืนยันรับรองราคาประมูลสูงสุดว่าเป็นจำนวนเท่าไรแล้ว ก็ถือว่าการประมูลเสร็จสิ้น รวมทั้งเอกชนได้จ่ายค่าใบอนุญาต ในอัตรา 50% ของมูลค่าที่ประมูลใบอนุญาตได้ โดยทรูชำระ 5,872 ล้านบาท รวมถึงหนังสือรับรองทางการเงิน (แบงก์การันตี) ที่ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว กสทช.ต้องมีหน้าที่ออกใบอนุญาตให้เอกชนทันที
"ที่ว่าต้องทันทีเพราะเป็นไปตามระเบียบราชการปกติ ในเมื่อเราทำเสร็จแล้ว คุณจะบ่ายเบี่ยงไม่ได้ ส่วนที่ กสทช. บอกว่าจะต้องให้ใบอนุญาตภายใน 90 วัน นั่นคือ สิทธิ์ของเอกชนผู้เข้าประมูล จะต้องจ่ายเงินเมื่อไรก็ได้ภายใน 90 วัน แต่นี่คือเราได้จ่ายเงินไปแล้วถูกต้อมตามหลักเกณฑ์ ซึ่งการที่เราต้องรีบจ่ายเงิน เพราะเป็นเรื่องของการแข่งขัน ใครทำโครงข่ายเสร็จก่อน คนนั้นก็มีสิทธิ์เปิดให้บริการ 3จี ได้ก่อน และมีโอกาสได้ลูกค้าดีๆ มาก่อน"
ส่วนเรื่องประกาศกำหนดอัตราขั้นสูง ที่กสทช.กำหนด และบังคับให้เอกชนลดราคาค่าบริการทางเสียง และข้อมูล (ดาต้า) ลง 15-20% จากอัตราปัจจุบัน ถือเป็นคนละเรื่องกัน และเรื่องนี้ก็ไม่ได้อยู่ในเงื่อนไขการประมูล แต่ยังไม่สามารถบอกได้บอกว่าทรูจะทำตามที่ขอไม่ได้ อย่างไรก็ดี ก่อนอื่้นกสทช.จะต้องมาบอกว่า เป็นเงื่อนไขที่ต้องให้เอกชนทำตาม เพราะสิ่งที่จะเกิดมันยังไม่เกิด แต่เรื่องใบอนุญาตที่ควรจะเกิดแต่ทำไมถึงไม่ได้รับเสียที
"ตามกฎของกสทช. ก็คือ เมื่อเราทำทุกอย่างที่เอกชนจะต้องทำหลังจากเสร็จการประมูลแล้ว ก็ต้องให้ใบอนุญาตทันที แต่เรื่องนี้ยังไม่คิดจะฟ้องร้อง เพราะเห็นใจ กสทช.ที่มีคดีเกิดขึ้นเยอะแล้ว สิ่งที่ควรจะเกิดตอนนี้คือใบอนุญาตต้องมาอยู่กับเอกชนแล้ว หากใบอนุญาตไม่มา ตกลงพวกผมจะได้ทำหรือไม่ แล้วคุณมาสั่งให้ผมลงทุน มันต้องแฟร์ๆ คุณก็ต้องออกใบอนุญาตให้ผม แล้วเงื่อนไขต่อไปที่ กสทช.จะสั่งทำให้ทำอะไร ก็บอกมา ผมก็จะทำไปให้เรื่อยๆ แต่ตอนนี้ใบอนุญาตไม่ออก แล้วมาต่อรองกันแบบนี้ มันไม่ถูก"
ขณะที่นายดามพ์ สุคนธทรัพย์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ดีแทค ระบุว่า หากได้ใบอนุญาตโดยเร็วเท่าไร จะเป็นเรื่องที่ดี เพราะใบอนุญาตจะต้องนำไปใช้เพื่อประโยชน์ในการนำเข้าอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับบริการ 3 จี ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องได้รับใบอนุญาตโดยเร็ว ขณะนี้ส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับใบอนุญาต ดีแทคได้ดำเนินการโดยเร็วและคาดว่าจะเปิดให้บริการ 3 จี ให้ลูกค้าได้ภายใน ต้นไตรมาสที่ 2 ปีหน้า
อย่างไรก็ดี เขากังวลกระบวนการต่างๆ จะทำให้ใบอนุญาตล่าช้า และเปิดให้บริการ 3 จีไม่ได้ ส่วนการลดค่าบริการทั้งด้านเสียง และข้อมูล เชื่อว่าก่อน 30 พ.ย.นี้ ดีแทคจะพร้อมเสนอแนวคิดให้กสทช.รับทราบ โดยคิดว่าเมื่อเปิดให้บริการ และภาระการแข่งขันในตลาดที่เข้มข้น ประโยชน์สูงสุดจะอยู่ผู้บริโภค
กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20121122/479
173/%A4%B3%D0%CA%CD%BA%CE%D1%E9%C7%E0%A4%D2
%D0-%BB%C3%D0%C1%D9%C53%A8%D5-
%E2%BB%C3%E8%A7%E3%CA.html
ไม่มีความคิดเห็น: