13 ธันวาคม 2555 (แก้ CAT TRUE ผ่านไป166วันแล้ว) TRUE ยอมตกลงแล้ว!! เมื่อวันที่4ธันวา ล่าสุดส่งกฤษฏีกาตีความอีกรอบ//CATแจกโบนัส4.1เท่า
ประเด็นหลัก
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า ตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) มีมติให้ กสท และบมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น ไปแก้ไขสัญญาโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เอชเอสพีเอบนคลื่น 850 เมกะเฮิตรซ์ จำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่งพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) โดยที่ผ่านมา กสท ขอขยายเวลาแก้ไขสัญญากับกลุ่มทรู มายัง กสทช.เป็นครั้งที่ 3 โดยครั้งสุดท้ายต้องส่งผลแก้ไขสัญญาวันที่ 4 ธ.ค. ซึ่งวันดังกล่าว กสท ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู) กับกลุ่มทรูที่จะแก้ไขสัญญา3จีแล้ว
“เราเป็นรัฐวิสาหกิจ การจะแก้ไขสัญญาใดๆ ก็ต้องทำตามขั้นตอนของกฎหมายให้ถูกต้อง ซึ่ง กสทช.เข้าใจ เพราะ กสท และทรู ต่างยินยอมที่จะแก้ไขสัญญาตามคำสั่ง กสทช.ทุกประการ เพียงแต่รอความชัดเจนเท่านั้นเพื่อทำให้สัญญาดังกล่าวถูกต้องตามกฎหมาย”
เมื่อวันที่ 12 ธ.ค. นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT เปิดเผยว่า ได้หารือ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เกี่ยวกับการนำเรื่องการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เพื่อให้บริการ 3จี ด้วยเทคโนโลยีเอชเอสพีเอ ระหว่าง กสท กับกลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่าการทำสัญญา 3จี ดังกล่าวเข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือไม่ เมื่อคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นแล้ว กสท จึงจะดำเนินการต่อไป
นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงานในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากปีนี้ถือว่ามีกำไร โดย 11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม กสท จะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก 1 ปีเท่านั้น เพราะจากนั้นรายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ. กสทช.).
_______________________________
"CAT-TRUE" เซ็นเอ็มโอยูแก้สัญญา3จี
กสท เซ็นเอ็มโอยู กลุ่มทรูในการแก้ไขสัญญา3จี เล็งส่งเรื่องให้กฤษฏีกาตีความสัญญาเข้าข่าย พรบ.ร่วมทุนหรือไม่
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า ตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) มีมติให้ กสท และบมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น ไปแก้ไขสัญญาโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เอชเอสพีเอบนคลื่น 850 เมกะเฮิตรซ์ จำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่งพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) โดยที่ผ่านมา กสท ขอขยายเวลาแก้ไขสัญญากับกลุ่มทรู มายัง กสทช.เป็นครั้งที่ 3 โดยครั้งสุดท้ายต้องส่งผลแก้ไขสัญญาวันที่ 4 ธ.ค. ซึ่งวันดังกล่าว กสท ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู) กับกลุ่มทรูที่จะแก้ไขสัญญา3จีแล้ว
ดังนั้น จึงถือว่า ภาระผูกพันกับกทค.ในการแก้สัญญากับกลุ่มทรูให้แล้วเสร็จตามมติกทค.จึงสิ้นสุดลง ขั้นตอนต่อไป กสทต้องส่งรายละเอียดโครงการ 3จีเอชเอสพีเอไปยังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความในสัญญาดังกล่าวว่า การดำเนินงานเข้าข่ายพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุน) หลังจากนั้น จะต้องส่งแผน และแนวทางการแก้ไขสัญญาให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ไอซีที)
นอกจากนี้ ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงานกสท ในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากผลประกอบการปีนี้ถือว่ามีกำไรเพิ่มขึ้น โดย11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตามกสทจะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก1ปีเท่านั้น เนื่องจากสัญญาสัมปทานบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี)จะสิ้นสุดในเดือนก.ย.2556 และนับตั้งแต่เดือนธ.ค. 2556 เป็นต้นไป รายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.กสทช.
สำหรับคำสั่ง กสทช.ให้แก้ไขสัญญา3จี ที่กสท และทรู ยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 6 ข้อ อาทิ ต้องสามารถนำคลื่นความถี่ย่าน 800 เมกะเฮิรตซ์ ไปใช้กับเครื่อง และอุปกรณ์ของตนเองหรือของบริษัทอื่นได้ กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ได้อย่างสมบูรณ์ผ่านเน็ตเวิร์ค โอเปอเรชั่น กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน และ กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านการเจรจาให้บริการบริการข้ามโครงข่ายภายในประเทศ และการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้ประกอบการรายอื่น
moneychannel.
http://www.moneychannel.co.th/index.php/2012-06-30-12-32-32/7918-cat-true-3.html
_________________________________
สัญญา 3G กสท-ทรู หนังชีวิต
สัญญา 3G “กสท-ทรู” กลายเป็นหนังชีวิตหลัง กสท หารือ รมว.ไอซีที ชงเรื่องให้กฤษฎีกาตีความว่าเข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ ส่วนการแก้ไขใน 6 ประเด็นล่าสุด กสท-ทรูเซ็น MOU ร่วมกันที่จะแก้ไขแล้วเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 55
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เปิดเผยความคืบหน้าการแก้ไขสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เพื่อให้บริการ 3G ด้วยเทคโนโลยี HSPA บนคลื่น 850 MHz ระหว่าง กสท กับกลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) ได้มีมติจำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่ง พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (พ.ร.บ.กสทช.)
ล่าสุด กสท ได้เข้าหารือกับ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เกี่ยวกับการนำสัญญาดังกล่าวส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่าการทำสัญญา 3G เข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุน) หรือไม่ ก่อนจะดำเนินการแก้ไขสัญญาต่อไป จากนั้นจะต้องส่งแผนและแนวทางการแก้ไขสัญญาเพื่อให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ต่อไป
“เราเป็นรัฐวิสาหกิจ การจะแก้ไขสัญญาใดๆ ก็ต้องทำตามขั้นตอนของกฎหมายให้ถูกต้อง ซึ่ง กสทช.เข้าใจ เพราะ กสท และทรู ต่างยินยอมที่จะแก้ไขสัญญาตามคำสั่ง กสทช.ทุกประการ เพียงแต่รอความชัดเจนเท่านั้นเพื่อทำให้สัญญาดังกล่าวถูกต้องตามกฎหมาย”
โดยเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2555 ที่ผ่านมา กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ว่า กสท และทรู ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจเบื้องต้น (MOU) ระหว่างกันเป็นที่เรียบร้อย โดยทั้งสองฝ่ายยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 3G ใน 6 ประเด็นตามคำสั่งของ กทค. แต่ขณะนี้ยังไม่สามารถแก้ไขสัญญาจริงได้จนกว่าคณะกรรมการกฤษฎีกาจะตีความแล้วเสร็จ
ส่วนการประชุมบอร์ด กสท ในวันนี้ (12 ธ.ค.) ได้มีการอนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงาน กสท ในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากผลประกอบการปีนี้ถือว่ามีกำไร โดย 11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท
“เราคาดว่า กสท จะมีกำไร และจะมีโบนัสอีก 1 ปีเท่านั้น เนื่องจากสัญญาสัมปทานบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) จะสิ้นสุดในเดือน ก.ย. 2556 และนับตั้งแต่เดือน ธ.ค. 2556 เป็นต้นไปรายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (พ.ร.บ.กสทช.)”
ที่ผ่านมา กสท ได้ขอขยายเวลาในการแก้ไขสัญญา 3G มายัง กสทช.เป็นครั้งที่ 3 โดยครั้งสุดท้ายต้องส่งผลการแก้ไขสัญญาวันที่ 4 ธ.ค.นี้ ซึ่งในวันดังกล่าว กสท ได้มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับกลุ่มทรูฯ ที่จะแก้ไขสัญญา 3G ทั้ง 6 ข้อ ได้แก่ 1. กสท ต้องสามารถนำคลื่นความถี่ย่าน 800 MHz ไปใช้กับเครื่อง และอุปกรณ์ของตนเองหรือของบริษัทอื่นได้ 2. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ได้อย่างสมบูรณ์ผ่านเน็ตเวิร์กโอเปอเรชัน 3. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน เพื่อการควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์
4. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้อำนาจของคณะกรรมการควบคุมการปฏิบัติงานตามสัญญามีความชัดเจน โดยแสดงให้เห็นถึงอำนาจการบริหารจัดการคลื่นความถี่ของตนเองโดยชัดแจ้ง 5. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านกระบวนการสร้างและจัดหาความจุของบริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด โดยรวมถึงการวางแผนการใช้คลื่นความถี่และการติดตั้งโครงข่าย การบริหารจัดการโครงข่าย และ 6. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านการเจรจาให้บริการข้ามโครงข่ายภายในประเทศ และการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้ประกอบการรายอื่น
ASTV ผู้จัดการ
http://www.manager.co.th/CyberBiz/ViewNews.aspx?NewsID=9550000151084
_____________________________________
"กสท-ทรู" เซ็นเอ็มโอยูแก้สัญญา3จี
กสท เซ็นเอ็มโอยูกลุ่มทรูในการแก้ไขสัญญา3จี เล็งส่งเรื่องให้กฤษฏีกาตีความสัญญาเข้าข่าย พรบ.ร่วมทุนหรือไม่
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า ตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) มีมติให้ กสท และบมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น ไปแก้ไขสัญญาโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เอชเอสพีเอบนคลื่น 850 เมกะเฮิตรซ์ จำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่งพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) โดยที่ผ่านมา กสท ขอขยายเวลาแก้ไขสัญญากับกลุ่มทรู มายัง กสทช.เป็นครั้งที่ 3 โดยครั้งสุดท้ายต้องส่งผลแก้ไขสัญญาวันที่ 4 ธ.ค. ซึ่งวันดังกล่าว กสท ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู) กับกลุ่มทรูที่จะแก้ไขสัญญา3จีแล้ว
ดังนั้น จึงถือว่า ภาระผูกพันกับกทค.ในการแก้สัญญากับกลุ่มทรูให้แล้วเสร็จตามมติกทค.จึงสิ้นสุดลง ขั้นตอนต่อไป กสทต้องส่งรายละเอียดโครงการ 3จีเอชเอสพีเอไปยังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความในสัญญาดังกล่าวว่า การดำเนินงานเข้าข่ายพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุน) หลังจากนั้น จะต้องส่งแผน และแนวทางการแก้ไขสัญญาให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ไอซีที)
นอกจากนี้ ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงานกสท ในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากผลประกอบการปีนี้ถือว่ามีกำไรเพิ่มขึ้น โดย11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตามกสทจะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก1ปีเท่านั้น เนื่องจากสัญญาสัมปทานบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี)จะสิ้นสุดในเดือนก.ย.2556 และนับตั้งแต่เดือนธ.ค. 2556 เป็นต้นไป รายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.กสทช.
สำหรับคำสั่งกสทช.ให้แก้ไขสัญญา3จี ที่กสท และทรู ยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 6 ข้อ อาทิ ต้องสามารถนำคลื่นความถี่ย่าน 800 เมกะเฮิรตซ์ ไปใช้กับเครื่อง และอุปกรณ์ของตนเองหรือของบริษัทอื่นได้ กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ได้อย่างสมบูรณ์ผ่านเน็ตเวิร์ค โอเปอเรชั่น กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน และ กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านการเจรจาให้บริการบริการข้ามโครงข่ายภายในประเทศ และการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้ประกอบการรายอื่น
กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/2012121
3/481939/%A1%CA%B7-%B7%C3%D9-
%E0%AB%E7%B9%E0%CD%E7%C1%E2%CD%C2%D9%E1%
A1%E9%CA%D1%AD%AD%D23%A8%D5.html
________________________________
ICT ส่งกฤษฎีกาตีความ สัญญา3จี “กสท-ทรู”
รมว.ไอซีที ซื้อเวลาสัญญา 3จี “กสท-ทรู” ส่งกฤษฎีกาตีความ ก่อนแก้ไขสัญญาจริง หลังจากเจรจากลุ่มทรูยินยอมแก้ไขสัญญาตามคำสั่ง “กทค.”...
เมื่อวันที่ 12 ธ.ค. นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT เปิดเผยว่า ได้หารือ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เกี่ยวกับการนำเรื่องการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เพื่อให้บริการ 3จี ด้วยเทคโนโลยีเอชเอสพีเอ ระหว่าง กสท กับกลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่าการทำสัญญา 3จี ดังกล่าวเข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือไม่ เมื่อคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นแล้ว กสท จึงจะดำเนินการต่อไป
ทั้งนี้เมื่อวันที่ 4 ธ.ค.2555 ที่ผ่านมา กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ว่า กสท และทรู ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจเบื้องต้น (เอ็มโอยู) ระหว่างกันเป็นที่เรียบร้อย โดยทั้งสองฝ่ายยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 3จี ตามคำสั่งของ กสทช. แต่ขณะนี้ยังไม่สามารถแก้ไขสัญญาได้จนกว่าคณะกรรมการกฤษฎีกาจะตีความแล้วเสร็จ และนำเข้าสู่ขบวนการขั้นตอนการพิจารณาตามกฎหมาย เพราะ กสท เป็นรัฐวิสาหกิจ ที่ต้องนำเรื่องดังกล่าวเสนอต่อกระทรวงไอซีที สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
“การเป็นรัฐวิสาหกิจ จะแก้ไขสัญญาใดๆ ก็ต้องทำตามขั้นตอนของกฎหมายให้ถูกต้อง ซึ่ง กสทช.เข้าใจ เพราะ กสท และทรูต่างยินยอมที่จะแก้ไขสัญญาตามคำสั่ง กสทช.ทุกประการ เพียงแต่รอความชัดเจนเท่านั้น เพื่อทำให้สัญญาดังกล่าวถูกต้องตามกฎหมาย” กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าว
นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงาน กสท ในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากผลประกอบการปีนี้ถือว่ามีกำไร โดย 11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม กสท จะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก 1 ปีเท่านั้น เนื่องจากสัญญาสัมปทานบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) จะสิ้นสุดในเดือน ก.ย.2556 และนับตั้งแต่เดือน ธ.ค.2556 เป็นต้นไป รายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.)
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/tech/313027
_____________________________
กสท. รอกฤษฏีกาตีความสัญญา 3G HSPA ก่อนแก้ไข หลัง TRUE ยินยอม
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. กสท โทรคมนาคม (กสท.) เปิดเผยหลังจากได้หารือกับ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ไอซีที) เกี่ยวกับการนำเรื่องการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เพื่อให้บริการ 3G HSPA ระหว่งกสทฯ กับกลุ่มบมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น (TRUE) โดยส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่า การทำสัญญา 3G ดังกล่าวเข้าข่ายพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือไม่ ทั้งนี้ เมื่อคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นแล้ว กสทฯ ถึงจะดำเนินการต่อไปได้
อย่างไรก็ตาม ล่าสุด กสทฯ ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ว่า กสทฯ และ TRUE ได้มีการลงนามบันทึกความเข้าใจเบื้องต้น (MOU) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 55 ที่ผ่าน โดย กสทฯ และ TRUE ยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 3G ตามมติคณะกรรมการ (บอร์ด) กิจการโทรคมนาคม (กทค.) แต่ขณะนี้ ต้องรอกฤษฏีกาจะตีความให้แล้วเสร็จก่อน กสทฯ และ TRUE ถึงจะสามารถแก้ไขสัญญาได้ เนื่องจาก กสทฯ เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีกระทรวงการคลังถือหุ้น 100% อีกทั้งยังต้องเสนอเรื่องต่อกระทรวงไอซีที สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และคณะรัฐมนตรี(ครม.) เป็นผู้พิจารณาต่อไป ทั้งนี้ กสทช.เองก็มีความเข้าใจในระบบรัฐวิสาหกิจ
อนึ่ง มติบอร์ด กทค.ให้ กสทฯ แก้ไขสัญญา 3G กับกลุ่ม TRUE ใน 6 ข้อ ประกอบด้วย 1.กสทฯ ต้องสามารถนำคลื่นความถี่ย่าน 800 MHz (Band V) ไปใช้กับเครื่อง และอุปกรณ์ของตนเองหรือของบริษัทอื่นได้ 2. กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ได้อย่างสมบูรณ์ผ่านnetwork operation (NOC) 3.กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน(call detail record (CDR)) เพื่อการควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์
4.กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้อำนาจของคณะกรรมการควบคุมการปฏิบัติงาน (Operation Supervision Committee) ตามสัญญามีความชัดเจน โดยแสดงให้เห็นถึงอำนาจในการบริหารจัดการคลื่นความถี่ของตนเองโดยชัดแจ้ง 5.กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านกระบวนการสร้าง และจัดหาความจุของบริษัท BFKT (ประเทศไทย) โดยรวมถึง frequency planning, network roll-out และ network operation และ 6.กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านการเจรจาให้บริการบริการข้ามโครงข่าย
อินโฟเควสท์
http://www.ryt9.com/s/iq05/1548848
________________________________
โบนัสกสท 4.1 เดือน
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ได้หารือกับ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เกี่ยวกับการนำเรื่องการทำสัญญา 3 จี ระหว่าง กสท กับกลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่าการทำสัญญา 3 จีดังกล่าวเข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือไม่ เมื่อคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นแล้ว กสท จึงจะดำเนินการต่อไป
ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 4 ธ.ค.2555 ที่ผ่านมา กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ว่า กสท และทรูได้ลงนามบันทึกความเข้าใจเบื้องต้น (เอ็มโอยู) ระหว่างกันเป็นที่เรียบร้อย โดยทั้งสองฝ่ายยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 3 จี ตามคำสั่งของ กสทช. แต่ต้องรอจนกว่าคณะกรรมการกฤษฎีกาจะตีความแล้วเสร็จ และนำเข้าสู่ขบวนการขั้นตอนการพิจารณาตามกฎหมาย เพราะ กสท เป็นรัฐวิสาหกิจที่ต้องนำเรื่องดังกล่าวเสนอต่อกระทรวงไอซีที สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงานในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากปีนี้ถือว่ามีกำไร โดย 11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม กสท จะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก 1 ปีเท่านั้น เพราะจากนั้นรายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ. กสทช.).
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/eco/312962
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า ตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) มีมติให้ กสท และบมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น ไปแก้ไขสัญญาโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เอชเอสพีเอบนคลื่น 850 เมกะเฮิตรซ์ จำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่งพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) โดยที่ผ่านมา กสท ขอขยายเวลาแก้ไขสัญญากับกลุ่มทรู มายัง กสทช.เป็นครั้งที่ 3 โดยครั้งสุดท้ายต้องส่งผลแก้ไขสัญญาวันที่ 4 ธ.ค. ซึ่งวันดังกล่าว กสท ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู) กับกลุ่มทรูที่จะแก้ไขสัญญา3จีแล้ว
“เราเป็นรัฐวิสาหกิจ การจะแก้ไขสัญญาใดๆ ก็ต้องทำตามขั้นตอนของกฎหมายให้ถูกต้อง ซึ่ง กสทช.เข้าใจ เพราะ กสท และทรู ต่างยินยอมที่จะแก้ไขสัญญาตามคำสั่ง กสทช.ทุกประการ เพียงแต่รอความชัดเจนเท่านั้นเพื่อทำให้สัญญาดังกล่าวถูกต้องตามกฎหมาย”
เมื่อวันที่ 12 ธ.ค. นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT เปิดเผยว่า ได้หารือ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เกี่ยวกับการนำเรื่องการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เพื่อให้บริการ 3จี ด้วยเทคโนโลยีเอชเอสพีเอ ระหว่าง กสท กับกลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่าการทำสัญญา 3จี ดังกล่าวเข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือไม่ เมื่อคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นแล้ว กสท จึงจะดำเนินการต่อไป
นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงานในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากปีนี้ถือว่ามีกำไร โดย 11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม กสท จะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก 1 ปีเท่านั้น เพราะจากนั้นรายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ. กสทช.).
_______________________________
"CAT-TRUE" เซ็นเอ็มโอยูแก้สัญญา3จี
กสท เซ็นเอ็มโอยู กลุ่มทรูในการแก้ไขสัญญา3จี เล็งส่งเรื่องให้กฤษฏีกาตีความสัญญาเข้าข่าย พรบ.ร่วมทุนหรือไม่
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า ตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) มีมติให้ กสท และบมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น ไปแก้ไขสัญญาโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เอชเอสพีเอบนคลื่น 850 เมกะเฮิตรซ์ จำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่งพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) โดยที่ผ่านมา กสท ขอขยายเวลาแก้ไขสัญญากับกลุ่มทรู มายัง กสทช.เป็นครั้งที่ 3 โดยครั้งสุดท้ายต้องส่งผลแก้ไขสัญญาวันที่ 4 ธ.ค. ซึ่งวันดังกล่าว กสท ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู) กับกลุ่มทรูที่จะแก้ไขสัญญา3จีแล้ว
ดังนั้น จึงถือว่า ภาระผูกพันกับกทค.ในการแก้สัญญากับกลุ่มทรูให้แล้วเสร็จตามมติกทค.จึงสิ้นสุดลง ขั้นตอนต่อไป กสทต้องส่งรายละเอียดโครงการ 3จีเอชเอสพีเอไปยังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความในสัญญาดังกล่าวว่า การดำเนินงานเข้าข่ายพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุน) หลังจากนั้น จะต้องส่งแผน และแนวทางการแก้ไขสัญญาให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ไอซีที)
นอกจากนี้ ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงานกสท ในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากผลประกอบการปีนี้ถือว่ามีกำไรเพิ่มขึ้น โดย11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตามกสทจะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก1ปีเท่านั้น เนื่องจากสัญญาสัมปทานบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี)จะสิ้นสุดในเดือนก.ย.2556 และนับตั้งแต่เดือนธ.ค. 2556 เป็นต้นไป รายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.กสทช.
สำหรับคำสั่ง กสทช.ให้แก้ไขสัญญา3จี ที่กสท และทรู ยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 6 ข้อ อาทิ ต้องสามารถนำคลื่นความถี่ย่าน 800 เมกะเฮิรตซ์ ไปใช้กับเครื่อง และอุปกรณ์ของตนเองหรือของบริษัทอื่นได้ กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ได้อย่างสมบูรณ์ผ่านเน็ตเวิร์ค โอเปอเรชั่น กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน และ กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านการเจรจาให้บริการบริการข้ามโครงข่ายภายในประเทศ และการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้ประกอบการรายอื่น
moneychannel.
http://www.moneychannel.co.th/index.php/2012-06-30-12-32-32/7918-cat-true-3.html
_________________________________
สัญญา 3G กสท-ทรู หนังชีวิต
สัญญา 3G “กสท-ทรู” กลายเป็นหนังชีวิตหลัง กสท หารือ รมว.ไอซีที ชงเรื่องให้กฤษฎีกาตีความว่าเข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ ส่วนการแก้ไขใน 6 ประเด็นล่าสุด กสท-ทรูเซ็น MOU ร่วมกันที่จะแก้ไขแล้วเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 55
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เปิดเผยความคืบหน้าการแก้ไขสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เพื่อให้บริการ 3G ด้วยเทคโนโลยี HSPA บนคลื่น 850 MHz ระหว่าง กสท กับกลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) ได้มีมติจำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่ง พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (พ.ร.บ.กสทช.)
ล่าสุด กสท ได้เข้าหารือกับ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เกี่ยวกับการนำสัญญาดังกล่าวส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่าการทำสัญญา 3G เข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุน) หรือไม่ ก่อนจะดำเนินการแก้ไขสัญญาต่อไป จากนั้นจะต้องส่งแผนและแนวทางการแก้ไขสัญญาเพื่อให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ต่อไป
“เราเป็นรัฐวิสาหกิจ การจะแก้ไขสัญญาใดๆ ก็ต้องทำตามขั้นตอนของกฎหมายให้ถูกต้อง ซึ่ง กสทช.เข้าใจ เพราะ กสท และทรู ต่างยินยอมที่จะแก้ไขสัญญาตามคำสั่ง กสทช.ทุกประการ เพียงแต่รอความชัดเจนเท่านั้นเพื่อทำให้สัญญาดังกล่าวถูกต้องตามกฎหมาย”
โดยเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2555 ที่ผ่านมา กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ว่า กสท และทรู ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจเบื้องต้น (MOU) ระหว่างกันเป็นที่เรียบร้อย โดยทั้งสองฝ่ายยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 3G ใน 6 ประเด็นตามคำสั่งของ กทค. แต่ขณะนี้ยังไม่สามารถแก้ไขสัญญาจริงได้จนกว่าคณะกรรมการกฤษฎีกาจะตีความแล้วเสร็จ
ส่วนการประชุมบอร์ด กสท ในวันนี้ (12 ธ.ค.) ได้มีการอนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงาน กสท ในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากผลประกอบการปีนี้ถือว่ามีกำไร โดย 11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท
“เราคาดว่า กสท จะมีกำไร และจะมีโบนัสอีก 1 ปีเท่านั้น เนื่องจากสัญญาสัมปทานบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) จะสิ้นสุดในเดือน ก.ย. 2556 และนับตั้งแต่เดือน ธ.ค. 2556 เป็นต้นไปรายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (พ.ร.บ.กสทช.)”
ที่ผ่านมา กสท ได้ขอขยายเวลาในการแก้ไขสัญญา 3G มายัง กสทช.เป็นครั้งที่ 3 โดยครั้งสุดท้ายต้องส่งผลการแก้ไขสัญญาวันที่ 4 ธ.ค.นี้ ซึ่งในวันดังกล่าว กสท ได้มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับกลุ่มทรูฯ ที่จะแก้ไขสัญญา 3G ทั้ง 6 ข้อ ได้แก่ 1. กสท ต้องสามารถนำคลื่นความถี่ย่าน 800 MHz ไปใช้กับเครื่อง และอุปกรณ์ของตนเองหรือของบริษัทอื่นได้ 2. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ได้อย่างสมบูรณ์ผ่านเน็ตเวิร์กโอเปอเรชัน 3. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน เพื่อการควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์
4. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้อำนาจของคณะกรรมการควบคุมการปฏิบัติงานตามสัญญามีความชัดเจน โดยแสดงให้เห็นถึงอำนาจการบริหารจัดการคลื่นความถี่ของตนเองโดยชัดแจ้ง 5. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านกระบวนการสร้างและจัดหาความจุของบริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด โดยรวมถึงการวางแผนการใช้คลื่นความถี่และการติดตั้งโครงข่าย การบริหารจัดการโครงข่าย และ 6. กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านการเจรจาให้บริการข้ามโครงข่ายภายในประเทศ และการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้ประกอบการรายอื่น
ASTV ผู้จัดการ
http://www.manager.co.th/CyberBiz/ViewNews.aspx?NewsID=9550000151084
_____________________________________
"กสท-ทรู" เซ็นเอ็มโอยูแก้สัญญา3จี
กสท เซ็นเอ็มโอยูกลุ่มทรูในการแก้ไขสัญญา3จี เล็งส่งเรื่องให้กฤษฏีกาตีความสัญญาเข้าข่าย พรบ.ร่วมทุนหรือไม่
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า ตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) มีมติให้ กสท และบมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น ไปแก้ไขสัญญาโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เอชเอสพีเอบนคลื่น 850 เมกะเฮิตรซ์ จำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่งพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) โดยที่ผ่านมา กสท ขอขยายเวลาแก้ไขสัญญากับกลุ่มทรู มายัง กสทช.เป็นครั้งที่ 3 โดยครั้งสุดท้ายต้องส่งผลแก้ไขสัญญาวันที่ 4 ธ.ค. ซึ่งวันดังกล่าว กสท ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู) กับกลุ่มทรูที่จะแก้ไขสัญญา3จีแล้ว
ดังนั้น จึงถือว่า ภาระผูกพันกับกทค.ในการแก้สัญญากับกลุ่มทรูให้แล้วเสร็จตามมติกทค.จึงสิ้นสุดลง ขั้นตอนต่อไป กสทต้องส่งรายละเอียดโครงการ 3จีเอชเอสพีเอไปยังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความในสัญญาดังกล่าวว่า การดำเนินงานเข้าข่ายพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุน) หลังจากนั้น จะต้องส่งแผน และแนวทางการแก้ไขสัญญาให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ไอซีที)
นอกจากนี้ ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงานกสท ในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากผลประกอบการปีนี้ถือว่ามีกำไรเพิ่มขึ้น โดย11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตามกสทจะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก1ปีเท่านั้น เนื่องจากสัญญาสัมปทานบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี)จะสิ้นสุดในเดือนก.ย.2556 และนับตั้งแต่เดือนธ.ค. 2556 เป็นต้นไป รายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.กสทช.
สำหรับคำสั่งกสทช.ให้แก้ไขสัญญา3จี ที่กสท และทรู ยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 6 ข้อ อาทิ ต้องสามารถนำคลื่นความถี่ย่าน 800 เมกะเฮิรตซ์ ไปใช้กับเครื่อง และอุปกรณ์ของตนเองหรือของบริษัทอื่นได้ กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ได้อย่างสมบูรณ์ผ่านเน็ตเวิร์ค โอเปอเรชั่น กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน และ กสท ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านการเจรจาให้บริการบริการข้ามโครงข่ายภายในประเทศ และการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้ประกอบการรายอื่น
กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/2012121
3/481939/%A1%CA%B7-%B7%C3%D9-
%E0%AB%E7%B9%E0%CD%E7%C1%E2%CD%C2%D9%E1%
A1%E9%CA%D1%AD%AD%D23%A8%D5.html
________________________________
ICT ส่งกฤษฎีกาตีความ สัญญา3จี “กสท-ทรู”
รมว.ไอซีที ซื้อเวลาสัญญา 3จี “กสท-ทรู” ส่งกฤษฎีกาตีความ ก่อนแก้ไขสัญญาจริง หลังจากเจรจากลุ่มทรูยินยอมแก้ไขสัญญาตามคำสั่ง “กทค.”...
เมื่อวันที่ 12 ธ.ค. นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT เปิดเผยว่า ได้หารือ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เกี่ยวกับการนำเรื่องการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เพื่อให้บริการ 3จี ด้วยเทคโนโลยีเอชเอสพีเอ ระหว่าง กสท กับกลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่าการทำสัญญา 3จี ดังกล่าวเข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือไม่ เมื่อคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นแล้ว กสท จึงจะดำเนินการต่อไป
ทั้งนี้เมื่อวันที่ 4 ธ.ค.2555 ที่ผ่านมา กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ว่า กสท และทรู ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจเบื้องต้น (เอ็มโอยู) ระหว่างกันเป็นที่เรียบร้อย โดยทั้งสองฝ่ายยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 3จี ตามคำสั่งของ กสทช. แต่ขณะนี้ยังไม่สามารถแก้ไขสัญญาได้จนกว่าคณะกรรมการกฤษฎีกาจะตีความแล้วเสร็จ และนำเข้าสู่ขบวนการขั้นตอนการพิจารณาตามกฎหมาย เพราะ กสท เป็นรัฐวิสาหกิจ ที่ต้องนำเรื่องดังกล่าวเสนอต่อกระทรวงไอซีที สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
“การเป็นรัฐวิสาหกิจ จะแก้ไขสัญญาใดๆ ก็ต้องทำตามขั้นตอนของกฎหมายให้ถูกต้อง ซึ่ง กสทช.เข้าใจ เพราะ กสท และทรูต่างยินยอมที่จะแก้ไขสัญญาตามคำสั่ง กสทช.ทุกประการ เพียงแต่รอความชัดเจนเท่านั้น เพื่อทำให้สัญญาดังกล่าวถูกต้องตามกฎหมาย” กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าว
นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงาน กสท ในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากผลประกอบการปีนี้ถือว่ามีกำไร โดย 11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม กสท จะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก 1 ปีเท่านั้น เนื่องจากสัญญาสัมปทานบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) จะสิ้นสุดในเดือน ก.ย.2556 และนับตั้งแต่เดือน ธ.ค.2556 เป็นต้นไป รายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.)
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/tech/313027
_____________________________
กสท. รอกฤษฏีกาตีความสัญญา 3G HSPA ก่อนแก้ไข หลัง TRUE ยินยอม
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. กสท โทรคมนาคม (กสท.) เปิดเผยหลังจากได้หารือกับ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ไอซีที) เกี่ยวกับการนำเรื่องการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่เพื่อให้บริการ 3G HSPA ระหว่งกสทฯ กับกลุ่มบมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น (TRUE) โดยส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่า การทำสัญญา 3G ดังกล่าวเข้าข่ายพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือไม่ ทั้งนี้ เมื่อคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นแล้ว กสทฯ ถึงจะดำเนินการต่อไปได้
อย่างไรก็ตาม ล่าสุด กสทฯ ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ว่า กสทฯ และ TRUE ได้มีการลงนามบันทึกความเข้าใจเบื้องต้น (MOU) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 55 ที่ผ่าน โดย กสทฯ และ TRUE ยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 3G ตามมติคณะกรรมการ (บอร์ด) กิจการโทรคมนาคม (กทค.) แต่ขณะนี้ ต้องรอกฤษฏีกาจะตีความให้แล้วเสร็จก่อน กสทฯ และ TRUE ถึงจะสามารถแก้ไขสัญญาได้ เนื่องจาก กสทฯ เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีกระทรวงการคลังถือหุ้น 100% อีกทั้งยังต้องเสนอเรื่องต่อกระทรวงไอซีที สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และคณะรัฐมนตรี(ครม.) เป็นผู้พิจารณาต่อไป ทั้งนี้ กสทช.เองก็มีความเข้าใจในระบบรัฐวิสาหกิจ
อนึ่ง มติบอร์ด กทค.ให้ กสทฯ แก้ไขสัญญา 3G กับกลุ่ม TRUE ใน 6 ข้อ ประกอบด้วย 1.กสทฯ ต้องสามารถนำคลื่นความถี่ย่าน 800 MHz (Band V) ไปใช้กับเครื่อง และอุปกรณ์ของตนเองหรือของบริษัทอื่นได้ 2. กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ได้อย่างสมบูรณ์ผ่านnetwork operation (NOC) 3.กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองสามารถเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน(call detail record (CDR)) เพื่อการควบคุมดูแลและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์
4.กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้อำนาจของคณะกรรมการควบคุมการปฏิบัติงาน (Operation Supervision Committee) ตามสัญญามีความชัดเจน โดยแสดงให้เห็นถึงอำนาจในการบริหารจัดการคลื่นความถี่ของตนเองโดยชัดแจ้ง 5.กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านกระบวนการสร้าง และจัดหาความจุของบริษัท BFKT (ประเทศไทย) โดยรวมถึง frequency planning, network roll-out และ network operation และ 6.กสทฯ ต้องเร่งรัดดำเนินการให้ตนเองเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการคลื่นความถี่ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์ผ่านการเจรจาให้บริการบริการข้ามโครงข่าย
อินโฟเควสท์
http://www.ryt9.com/s/iq05/1548848
________________________________
โบนัสกสท 4.1 เดือน
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ได้หารือกับ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เกี่ยวกับการนำเรื่องการทำสัญญา 3 จี ระหว่าง กสท กับกลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นว่าการทำสัญญา 3 จีดังกล่าวเข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือไม่ เมื่อคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นแล้ว กสท จึงจะดำเนินการต่อไป
ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 4 ธ.ค.2555 ที่ผ่านมา กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ว่า กสท และทรูได้ลงนามบันทึกความเข้าใจเบื้องต้น (เอ็มโอยู) ระหว่างกันเป็นที่เรียบร้อย โดยทั้งสองฝ่ายยินยอมที่จะแก้ไขสัญญา 3 จี ตามคำสั่งของ กสทช. แต่ต้องรอจนกว่าคณะกรรมการกฤษฎีกาจะตีความแล้วเสร็จ และนำเข้าสู่ขบวนการขั้นตอนการพิจารณาตามกฎหมาย เพราะ กสท เป็นรัฐวิสาหกิจที่ต้องนำเรื่องดังกล่าวเสนอต่อกระทรวงไอซีที สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า ที่ประชุมบอร์ด กสท วานนี้ (12 ธ.ค.) ได้อนุมัติจ่ายเงินโบนัสให้พนักงานในอัตรา 4.1 เท่าของเงินเดือน เนื่องจากปีนี้ถือว่ามีกำไร โดย 11 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-พ.ย.) มีรายได้รวมสัมปทาน 43,309 ล้านบาท กำไรสุทธิ 11,325 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม กสท จะมีกำไรและจะมีโบนัสอีก 1 ปีเท่านั้น เพราะจากนั้นรายได้จากสัมปทาน กสท จะต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินตามมาตรา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ. กสทช.).
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/eco/312962
ไม่มีความคิดเห็น: