18 เมษายน 2556 ICT เล่นงาน CAT 3Gแจงงบ 29,000ลบ.!! จึ้ใจCAT ต้องเปิดโอกาศ MVNO รายอื่นด้วย(หลังTRUEของเช่าความจุ97% ส่วนที่เหลือ MY บริหารเอง
ประเด็นหลัก
น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) กล่าวว่า ไอซีทียังไม่ได้รับหนังสือแสดงรายละเอียดแผนการขออนุมัติวงเงินสำหรับการขยายโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3จีเอชเอสพีเอบนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์ของ บมจ.กสท โทรคมนาคม ที่ทำร่วมกับ บมจ.ทรูคอร์ปอเรชั่น
ทั้งนี้ วงเงินที่ กสท จะเสนอขอมาต้องแจกแจงรายละเอียดให้ชัดเจนว่าจะนำไปใช้ส่วนใดบ้าง เช่น การขยายโครงข่าย 3จีย่านความถี่ดังกล่าวปีแรกที่ลงทุนจะมีสถานีฐานเพิ่มเป็นกี่แห่ง เป้าหมายทั้งหมดกี่แห่ง จำนวนฐานลูกค้าที่คาดไว้ รวมถึงคาดการณ์จุดคุ้มทุนของโครงการด้วย ซึ่ง กสท ต้องเสนอคู่ขนานไปยังสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ด้วย
พร้อมกำชับ กสท วางแผนธุรกิจโครงการบริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3จีให้ละเอียดถี่ถ้วน ไม่ให้รัฐต้องเสียเปรียบ และผู้ใช้บริการต้องไม่ได้รับผลกระทบ ซึ่งหลังจาก กสท ลงนามบันทึกความเข้าใจกับกลุ่มทรู แก้ไขสัญญา 6 ข้อให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) แล้ว การดำเนินธุรกิจดังกล่าว กลุ่มทรูเป็นเพียงผู้ให้บริการบนโครงข่ายเสมือน (เอ็มวีเอ็นโอ) ให้ กสท เท่านั้น และเมื่อสัญญาฉบับใหม่แก้ไขเสร็จทรู จะเป็นเอ็มวีเอ็นโอรายหนึ่งของ กสท เท่านั้น
ส่วนปริมาณความจุโครงข่าย (คาปาซิตี้) ทั้งหมดที่มีอยู่จะต้องเปิดให้เอกชนรายอื่นเข้าทำตลาดได้ด้วย
โดยเฉพาะกรณีที่กสทได้ลงนามบันทึกความเข้าใจกับกลุ่มทรูในการแก้ไขสัญญา 6 ข้อให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) คือการดำเนินธุรกิจโทรศัพท์ 3G ดังกล่าว กลุ่มทรูเป็นได้แค่ผู้ให้บริการบนโครงข่ายเสมือน (MVNO) ให้ กสท เท่านั้น และเมื่อสัญญาฉบับใหม่แก้ไขเสร็จกลุ่มทรูจะเป็นได้แค่ MVNO รายหนึ่งของกสท พร้อมทั้งเปิดให้เอกชนรายอื่นสามารถเข้ามาให้บริการในลักษณะเดียวกับกลุ่มทรูได้
'แนวทางดังกล่าวจะช่วยให้ กสท มีรายได้เข้ามาทดแทนรายได้สัมปทานที่จะหายไป เพราะว่า กสท สามารถแบ่งสัดส่วนคาปาซิตี้ ให้เอกชนรายอื่นให้บริการในลักษณะ MVNO ได้เช่นเดียวกัน ถือว่าเป็นการเริ่มต้นธุรกิจใหม่ของ กสท'
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
11 เมษายน 2556 (แก้ CAT TRUEผ่านไป282วันแล้ว) TRUE H ขอเช่าใช้โครงข่าย CAT เพิ่มขึ้นจากเดิม 80% รองรับลูกค้า13.33 ล้านราย เป็น 97% ส่วนที่เหลือ MY บริหารเอง
_____________________________________
ไอซีทีเข้ม'กสท'ขออนุมัติงบ3จี
ต้องเคลียร์'พ.ร.บ.ร่วมทุน'ก่อน
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
ไอซีทีเข้ม กสท ขออนุมัติงบ 29,000
ล้านบาท ลุยขยายสถานีฐาน 3จีเอชเอสพีเอคู่กลุ่มทรู
ยันแนวทางปฏิบัติต้องแจงจุดประสงค์ชัดเจน
น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) กล่าวว่า
ไอซีทียังไม่ได้รับหนังสือแสดงรายละเอียดแผนการขออนุมัติวงเงินสำหรับการขยายโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่
3จีเอชเอสพีเอบนคลื่นความถี่ 850
เมกะเฮิรตซ์ของ บมจ.กสท โทรคมนาคม ที่ทำร่วมกับ บมจ.ทรูคอร์ปอเรชั่น
ทั้งนี้ วงเงินที่ กสท
จะเสนอขอมาต้องแจกแจงรายละเอียดให้ชัดเจนว่าจะนำไปใช้ส่วนใดบ้าง เช่น
การขยายโครงข่าย 3จีย่านความถี่ดังกล่าวปีแรกที่ลงทุนจะมีสถานีฐานเพิ่มเป็นกี่แห่ง
เป้าหมายทั้งหมดกี่แห่ง จำนวนฐานลูกค้าที่คาดไว้
รวมถึงคาดการณ์จุดคุ้มทุนของโครงการด้วย ซึ่ง กสท
ต้องเสนอคู่ขนานไปยังสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ด้วย
พร้อมกำชับ กสท
วางแผนธุรกิจโครงการบริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3จีให้ละเอียดถี่ถ้วน
ไม่ให้รัฐต้องเสียเปรียบ และผู้ใช้บริการต้องไม่ได้รับผลกระทบ ซึ่งหลังจาก กสท
ลงนามบันทึกความเข้าใจกับกลุ่มทรู แก้ไขสัญญา 6
ข้อให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) แล้ว
การดำเนินธุรกิจดังกล่าว กลุ่มทรูเป็นเพียงผู้ให้บริการบนโครงข่ายเสมือน
(เอ็มวีเอ็นโอ) ให้ กสท เท่านั้น และเมื่อสัญญาฉบับใหม่แก้ไขเสร็จทรู
จะเป็นเอ็มวีเอ็นโอรายหนึ่งของ กสท เท่านั้น
ส่วนปริมาณความจุโครงข่าย (คาปาซิตี้)
ทั้งหมดที่มีอยู่จะต้องเปิดให้เอกชนรายอื่นเข้าทำตลาดได้ด้วย
"แนวทางดังกล่าวจะทำให้ กสท
มีรายได้จากการให้บริการเอ็มวีเอ็นโอมาแทนรายได้สัมปทาน เพราะ กสท
สามารถแบ่งสัดส่วนคาปาซิตี้ให้เอกชนรายอื่นทำเอ็มวีเอ็นโอได้เช่นเดียวกัน
ถือว่าเป็นการเริ่มต้นธุรกิจใหม่ของ กสท หากทำได้ตามแผนที่วางไว้
รายได้จากตรงนี้จะมาช่วยเสริมรายได้สัมปทานที่จะหายไปด้วย"
นายกิตติศักดิ์ ศีลประเสริฐ
กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท ระบุว่า ฝ่ายบริหาร กสท
ได้ทำหนังสือถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา
เพื่อขอหารือข้อกฎหมายเกี่ยวกับการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่บริการ 3จีร่วมกับกลุ่มทรู
เพื่อให้เกิดความชัดเจนว่า การทำสัญญาดังกล่าวเข้าข่าย พ.ร.บ.
ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุน)
หรือไม่
ทั้งนี้
เพื่อให้เกิดความชัดเจนก่อนการนำเสนอให้คณะรัฐมนตรี (ครม.)
พิจารณาอนุมัติโครงการมูลค่า 29,000 ล้านบาท แบ่งเป็นงบประมาณสำหรับการวางสายไฟเบอร์ออพติก
ระยะยาวสำหรับใช้ในโครงข่ายของบริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด 14,000
ล้านบาท และค่าเช่าโครงข่ายจากบีเอฟเคที เป็นรายปีๆ ละ 15,000
ล้านบาท คาดว่า สิ้นเดือน เม.ย. ไอซีทีจะผ่านความเห็นชอบแผนขออนุมัติงบประมาณ
จากนั้นจะส่ง สศช. พิจารณาก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) ต่อไป
การทำหนังสือหารือคณะกรรมการกฤษฎีกา
เนื่องจากได้หารือไปยังกระทรวงการคลัง ในฐานะผู้ถือหุ้น กสท 100 % แล้ว
แต่กระทรวงการคลังพิจารณาตอบข้อหารือไม่ได้
โดยเฉพาะประเด็นกฎหมายที่ยังเห็นแตกต่างกันว่า การใช้คลื่นความถี่ถือเป็นการใช้ทรัพย์สินของรัฐหรือไม่
บางหน่วยงานแจ้งว่าเป็น บางหน่วยงานแจ้งว่าไม่ได้เป็น
จึงต้องส่งเรื่องให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาให้ความเห็น
เพื่อเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน
การทำสัญญา 3 จี
ระหว่าง กสท กับกลุ่มทรู ลงนามกันเมื่อ 27 ม.ค.2554
แต่ถึงขณะนี้ยังไม่ชัดเจนว่าการทำสัญญาเข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ โดย กสท
เคยทำหนังสือหารือกฤษฎีกาเมื่อเดือนมี.ค.ที่ผ่านมา
ก่อนส่งหนังสือถึงกระทรวงการคลัง และสำนักงานอัยการสูงสุด แต่ยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจน
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สรุปว่าสัญญาไม่ผิดกฎหมาย
เพียงต้องแก้รายละเอียดสัญญาให้เป็นไปตามพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง
กิจการวิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553
ฉะนั้น ต้องสร้างความชัดเจนของสัญญา 3จีให้เกิดขึ้น
เพื่อ กสท จะได้เดินหน้าทำธุรกิจ จากเวลาผ่านไปกว่า 2 ปี
แต่ กสท ยังไม่รับรู้รายได้จากการประกอบกิจการ
หากปล่อยเวลาผ่านไปจะสูญเสียรายได้ปีละ 2 - 2.5
หมื่นล้านบาท อาจมีผลต่อฐานะการเงินที่ปี 2557
เป็นต้นไป กสท จะไม่มีรายได้จากสัญญาสัมปทานอีก
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20130418/500903/%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%8B%E0%B
8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%AA
%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%
B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%9A3%E0%B8%88%E0%B8%B5-
%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%
B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9E.%E0%B8%A3.%E0%B8%9A.%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8
%A7%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99.html
_____________________________________________
'อนุดิษฐ์' เตือนกสทต้องส่งรายละเอียดโครงการ
3G ที่ของบ 2.9
หมื่นล้านบาทให้พิจารณา
'อนุดิษฐ์'
ปัดยังไม่เห็นโครงการ 3G ที่กสทคิดยืมมือไอซีทีชงครม.ของบประมาณ
2.9 หมื่นล้านบาท
ยันต้องเปลื้องแผนให้เห็นรายละเอียดทุกซอกทุกมุม
และต้องไม่ทำให้รัฐต้องเสียประโยชน์
งานนี้เชื่อเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่ารมว.ไอซีทีมีอำนาจเต็ม หรือ เป็นแค่เสือกระดาษ
ที่ซีอีโอกสท ไม่เห็นอยู่ในสายตา
น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร (ไอซีที)
กล่าวว่ากระทรวงไอซีทียังไม่ได้รับหนังสือแสดงรายละเอียดถึงแผนการขออนุมัติงบประมาณจำนวน
29,000 ล้านบาทจากบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
เพื่อใช้ในการขยายโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3G HSPA บนคลื่นความถี่
850 MHz ซึ่งโครงการดังกล่าวได้ดำเนินการร่วมกับบริษัท
ทรูคอร์ปอเรชั่น
ทั้งนี้กสท จะต้องแสดงรายละเอียดให้ชัดเจนว่าวงเงิน 2.9
หมื่นล้านบาทจะนำไปใช้ในส่วนใดบ้าง อาทิ ในเรื่องการขยายโครงข่ายโทรศัพท์มือถือ 3G
ในปีแรกที่ลงทุนจะมีสถานีฐานเพิ่มเป็นกี่แห่ง
และเป้าหมายทั้งหมดกี่แห่ง จำนวนฐานลูกค้าที่คาดเอาไว้
รวมถึงประมาณการจุดคุ้มทุนของโครงการด้วย
ซึ่งกสทก็จะต้องเสนอรายละเอียดทั้งหมดคู่ขนานไปยังสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(สศช.) เพื่อให้พิจารณาด้วยเช่นกัน อีกทั้งยังได้กำชับให้ กสท
วางแผนธุรกิจโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3G ให้ละเอียดถี่ถ้วน
ไม่ให้รัฐต้องเสียเปรียบ และผู้ใช้บริการต้องไม่ได้รับผลกระทบ
โดยเฉพาะกรณีที่กสทได้ลงนามบันทึกความเข้าใจกับกลุ่มทรูในการแก้ไขสัญญา 6
ข้อให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
คือการดำเนินธุรกิจโทรศัพท์ 3G ดังกล่าว
กลุ่มทรูเป็นได้แค่ผู้ให้บริการบนโครงข่ายเสมือน (MVNO) ให้
กสท เท่านั้น และเมื่อสัญญาฉบับใหม่แก้ไขเสร็จกลุ่มทรูจะเป็นได้แค่ MVNO รายหนึ่งของกสท
พร้อมทั้งเปิดให้เอกชนรายอื่นสามารถเข้ามาให้บริการในลักษณะเดียวกับกลุ่มทรูได้
'แนวทางดังกล่าวจะช่วยให้
กสท มีรายได้เข้ามาทดแทนรายได้สัมปทานที่จะหายไป เพราะว่า กสท
สามารถแบ่งสัดส่วนคาปาซิตี้ ให้เอกชนรายอื่นให้บริการในลักษณะ MVNO ได้เช่นเดียวกัน
ถือว่าเป็นการเริ่มต้นธุรกิจใหม่ของ กสท'
________________________________
ไอซีทีเข้ม'กสท'ขออนุมัติงบ3จี
ต้องเคลียร์'พ.ร.บ.ร่วมทุน'ก่อน
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
ไอซีทีเข้ม กสท ขออนุมัติงบ 29,000
ล้านบาท ลุยขยายสถานีฐาน 3จีเอชเอสพีเอคู่กลุ่มทรู
ยันแนวทางปฏิบัติต้องแจงจุดประสงค์ชัดเจน
น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) กล่าวว่า
ไอซีทียังไม่ได้รับหนังสือแสดงรายละเอียดแผนการขออนุมัติวงเงินสำหรับการขยายโครงการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่
3จีเอชเอสพีเอบนคลื่นความถี่ 850
เมกะเฮิรตซ์ของ บมจ.กสท โทรคมนาคม ที่ทำร่วมกับ บมจ.ทรูคอร์ปอเรชั่น
ทั้งนี้ วงเงินที่ กสท
จะเสนอขอมาต้องแจกแจงรายละเอียดให้ชัดเจนว่าจะนำไปใช้ส่วนใดบ้าง เช่น
การขยายโครงข่าย 3จีย่านความถี่ดังกล่าวปีแรกที่ลงทุนจะมีสถานีฐานเพิ่มเป็นกี่แห่ง
เป้าหมายทั้งหมดกี่แห่ง จำนวนฐานลูกค้าที่คาดไว้
รวมถึงคาดการณ์จุดคุ้มทุนของโครงการด้วย ซึ่ง กสท ต้องเสนอคู่ขนานไปยังสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(สศช.) ด้วย
พร้อมกำชับ กสท
วางแผนธุรกิจโครงการบริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3จีให้ละเอียดถี่ถ้วน
ไม่ให้รัฐต้องเสียเปรียบ และผู้ใช้บริการต้องไม่ได้รับผลกระทบ ซึ่งหลังจาก กสท
ลงนามบันทึกความเข้าใจกับกลุ่มทรู แก้ไขสัญญา 6
ข้อให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) แล้ว
การดำเนินธุรกิจดังกล่าว กลุ่มทรูเป็นเพียงผู้ให้บริการบนโครงข่ายเสมือน
(เอ็มวีเอ็นโอ) ให้ กสท เท่านั้น และเมื่อสัญญาฉบับใหม่แก้ไขเสร็จทรู
จะเป็นเอ็มวีเอ็นโอรายหนึ่งของ กสท เท่านั้น
ส่วนปริมาณความจุโครงข่าย (คาปาซิตี้)
ทั้งหมดที่มีอยู่จะต้องเปิดให้เอกชนรายอื่นเข้าทำตลาดได้ด้วย
"แนวทางดังกล่าวจะทำให้ กสท
มีรายได้จากการให้บริการเอ็มวีเอ็นโอมาแทนรายได้สัมปทาน เพราะ กสท
สามารถแบ่งสัดส่วนคาปาซิตี้ให้เอกชนรายอื่นทำเอ็มวีเอ็นโอได้เช่นเดียวกัน
ถือว่าเป็นการเริ่มต้นธุรกิจใหม่ของ กสท หากทำได้ตามแผนที่วางไว้
รายได้จากตรงนี้จะมาช่วยเสริมรายได้สัมปทานที่จะหายไปด้วย"
นายกิตติศักดิ์ ศีลประเสริฐ
กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท ระบุว่า ฝ่ายบริหาร กสท
ได้ทำหนังสือถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา
เพื่อขอหารือข้อกฎหมายเกี่ยวกับการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่บริการ 3จีร่วมกับกลุ่มทรู
เพื่อให้เกิดความชัดเจนว่า การทำสัญญาดังกล่าวเข้าข่าย พ.ร.บ.
ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุน)
หรือไม่
ทั้งนี้
เพื่อให้เกิดความชัดเจนก่อนการนำเสนอให้คณะรัฐมนตรี (ครม.)
พิจารณาอนุมัติโครงการมูลค่า 29,000 ล้านบาท
แบ่งเป็นงบประมาณสำหรับการวางสายไฟเบอร์ออพติก
ระยะยาวสำหรับใช้ในโครงข่ายของบริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด 14,000
ล้านบาท และค่าเช่าโครงข่ายจากบีเอฟเคที เป็นรายปีๆ ละ 15,000
ล้านบาท คาดว่า สิ้นเดือน เม.ย. ไอซีทีจะผ่านความเห็นชอบแผนขออนุมัติงบประมาณ
จากนั้นจะส่ง สศช. พิจารณาก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) ต่อไป
การทำหนังสือหารือคณะกรรมการกฤษฎีกา
เนื่องจากได้หารือไปยังกระทรวงการคลัง ในฐานะผู้ถือหุ้น กสท 100 % แล้ว
แต่กระทรวงการคลังพิจารณาตอบข้อหารือไม่ได้
โดยเฉพาะประเด็นกฎหมายที่ยังเห็นแตกต่างกันว่า
การใช้คลื่นความถี่ถือเป็นการใช้ทรัพย์สินของรัฐหรือไม่ บางหน่วยงานแจ้งว่าเป็น
บางหน่วยงานแจ้งว่าไม่ได้เป็น
จึงต้องส่งเรื่องให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาให้ความเห็น
เพื่อเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน
การทำสัญญา 3 จี
ระหว่าง กสท กับกลุ่มทรู ลงนามกันเมื่อ 27 ม.ค.2554 แต่ถึงขณะนี้ยังไม่ชัดเจนว่าการทำสัญญาเข้าข่าย
พ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ โดย กสท เคยทำหนังสือหารือกฤษฎีกาเมื่อเดือนมี.ค.ที่ผ่านมา
ก่อนส่งหนังสือถึงกระทรวงการคลัง และสำนักงานอัยการสูงสุด
แต่ยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจน
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สรุปว่าสัญญาไม่ผิดกฎหมาย
เพียงต้องแก้รายละเอียดสัญญาให้เป็นไปตามพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง
กิจการวิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553
ฉะนั้น ต้องสร้างความชัดเจนของสัญญา 3จีให้เกิดขึ้น
เพื่อ กสท จะได้เดินหน้าทำธุรกิจ จากเวลาผ่านไปกว่า 2 ปี
แต่ กสท ยังไม่รับรู้รายได้จากการประกอบกิจการ
หากปล่อยเวลาผ่านไปจะสูญเสียรายได้ปีละ 2 - 2.5
หมื่นล้านบาท อาจมีผลต่อฐานะการเงินที่ปี 2557
เป็นต้นไป กสท จะไม่มีรายได้จากสัญญาสัมปทานอีก
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20130418/500903/%E4%CD%AB%D5%B7%D5%E0%A2%E9%C1
%A1%CA%B7%A2%CD%CD%B9%D8%C1%D1%B5%D4%A7%BA3%A8%D5-
%B5%E9%CD%A7%E0%A4%C5%D5%C2%C3%EC%BE.%C3.%BA.%C3%E8%C7%C1%B7%D8%B9%A1%E8%CD%
B9.html
ไม่มีความคิดเห็น: