23 กรกฎาคม 2556 MY by CAT เร่งแผนตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G (เร่ง ครม.พร้อมบุกซื้อเสาและอุปกรณ์ BFTK เป็นของตนเอง ลดการเช่าโครงข่ายในอัตรา 37% ทันที )
ประเด็นหลัก
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า กสท จะเร่งแผนตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 จี ภายใต้ชื่อแบรนด์ “มาย” (my) ทันที หลังมีความชัดเจนใน 3 ประเด็นหลักว่าไม่ขัดต่อมาตรา 46 พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุและกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) ไม่เข้าข่าย พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมหรือดำเนินงานในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 และทางอัยการสูงสุดเห็นว่าการทำสัญญาถูกต้อง ดังนั้น การประชุมบอร์ด กสท เมื่อวันที่ 18 ก.ค. 56 ที่ผ่านมา อนุมัติโครงการซื้อเสาสัญญาณจาก บริษัท บีเอฟเคที จำกัด ผู้ติดตั้งโครงข่าย 3 จี คลื่น 850 เมกะเฮิรตซ์
“ภายในสัปดาห์นี้จะเสนอให้กระทรวงเทคโน โลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) พิจารณาเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) ตามขั้นตอนแล้ว กสท จะเร่งสรุปแผนตลาดมายทันที ซึ่งการซื้อเสา บีเอฟเคที จะสร้างผลตอบแทนการลงทุนให้กสท ในอัตรา 37% ทันที โดยกสท ตั้งเป้ารายได้จากการดำเนินการเองปี 2557 ประมาณ 4 หมื่นล้านบาท”
รายงานข่าวระบุว่า บอร์ด กสท ได้ปรับลดวงเงินแผนการตลาด 3 จี มาย ลดลงจาก 12,000 ล้านบาท จากที่เคยได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีไอซีทีคนก่อนเหลือประมาณ 800 กว่าล้านบาท ซึ่งหากแผนงานมีความชัดเจนครบถ้วนก็จะเสนอบอร์ดอนุมัติ พร้อมกับนำเสนอให้กระทรวงไอซีทีพิจารณาและนำเสนอคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ก่อนเสนอที่ประชุม ครม.เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
______________________________________
กสท เดินหน้าแผนตลาด 3จี ‘มาย’ มั่นใจปี57 มีรายได้ 4หมื่นล้านบาท
กสท เร่งเครื่องดันแผนการตลาด 3 จี “มาย” ทันที หลังบอร์ดไฟเขียวเดินหน้าซื้อเสาสัญญาณจากบีเอฟเคที มูลค่า 1.45 หมื่นล้านบาทแล้ว มั่นใจปีหน้ามีรายได้จากการดำเนินงานเอง 4 หมื่นล้านบาท
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า กสท จะเร่งแผนตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 จี ภายใต้ชื่อแบรนด์ “มาย” (my) ทันที หลังมีความชัดเจนใน 3 ประเด็นหลักว่าไม่ขัดต่อมาตรา 46 พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุและกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) ไม่เข้าข่าย พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมหรือดำเนินงานในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 และทางอัยการสูงสุดเห็นว่าการทำสัญญาถูกต้อง ดังนั้น การประชุมบอร์ด กสท เมื่อวันที่ 18 ก.ค. 56 ที่ผ่านมา อนุมัติโครงการซื้อเสาสัญญาณจาก บริษัท บีเอฟเคที จำกัด ผู้ติดตั้งโครงข่าย 3 จี คลื่น 850 เมกะเฮิรตซ์
“ภายในสัปดาห์นี้จะเสนอให้กระทรวงเทคโน โลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) พิจารณาเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) ตามขั้นตอนแล้ว กสท จะเร่งสรุปแผนตลาดมายทันที ซึ่งการซื้อเสา บีเอฟเคที จะสร้างผลตอบแทนการลงทุนให้กสท ในอัตรา 37% ทันที โดยกสท ตั้งเป้ารายได้จากการดำเนินการเองปี 2557 ประมาณ 4 หมื่นล้านบาท”
รายงานข่าวระบุว่า บอร์ด กสท ได้ปรับลดวงเงินแผนการตลาด 3 จี มาย ลดลงจาก 12,000 ล้านบาท จากที่เคยได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีไอซีทีคนก่อนเหลือประมาณ 800 กว่าล้านบาท ซึ่งหากแผนงานมีความชัดเจนครบถ้วนก็จะเสนอบอร์ดอนุมัติ พร้อมกับนำเสนอให้กระทรวงไอซีทีพิจารณาและนำเสนอคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ก่อนเสนอที่ประชุม ครม.เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
สำหรับการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการโอนย้ายลูกค้าหลังสิ้นสุดสัมปทานกับ บริษัท ทรูมูฟ จำกัด และ บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด หรือ ดีพีซี นั้นอยู่ระหว่างการเจรจาเงื่อนไขที่เบื้องต้นทั้ง 2 รายได้เสนอจ่ายส่วนแบ่งในอัตรา 30% เช่นเดียวกับสัมปทาน แต่ กสท เห็นว่า การที่ทั้ง 2 รายไม่สามารถหาลูกค้าเข้าระบบเพิ่มเติมได้จะทำให้ไม่มีรายได้เพิ่ม จึงเห็นว่าน่าจะใช้โมเดลเดียวกับการจ่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้บริการ 3 จี ของ กสทช.
http://www.dailynews.co.th/technology/220741
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า กสท จะเร่งแผนตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 จี ภายใต้ชื่อแบรนด์ “มาย” (my) ทันที หลังมีความชัดเจนใน 3 ประเด็นหลักว่าไม่ขัดต่อมาตรา 46 พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุและกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) ไม่เข้าข่าย พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมหรือดำเนินงานในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 และทางอัยการสูงสุดเห็นว่าการทำสัญญาถูกต้อง ดังนั้น การประชุมบอร์ด กสท เมื่อวันที่ 18 ก.ค. 56 ที่ผ่านมา อนุมัติโครงการซื้อเสาสัญญาณจาก บริษัท บีเอฟเคที จำกัด ผู้ติดตั้งโครงข่าย 3 จี คลื่น 850 เมกะเฮิรตซ์
“ภายในสัปดาห์นี้จะเสนอให้กระทรวงเทคโน โลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) พิจารณาเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) ตามขั้นตอนแล้ว กสท จะเร่งสรุปแผนตลาดมายทันที ซึ่งการซื้อเสา บีเอฟเคที จะสร้างผลตอบแทนการลงทุนให้กสท ในอัตรา 37% ทันที โดยกสท ตั้งเป้ารายได้จากการดำเนินการเองปี 2557 ประมาณ 4 หมื่นล้านบาท”
รายงานข่าวระบุว่า บอร์ด กสท ได้ปรับลดวงเงินแผนการตลาด 3 จี มาย ลดลงจาก 12,000 ล้านบาท จากที่เคยได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีไอซีทีคนก่อนเหลือประมาณ 800 กว่าล้านบาท ซึ่งหากแผนงานมีความชัดเจนครบถ้วนก็จะเสนอบอร์ดอนุมัติ พร้อมกับนำเสนอให้กระทรวงไอซีทีพิจารณาและนำเสนอคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ก่อนเสนอที่ประชุม ครม.เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
______________________________________
กสท เดินหน้าแผนตลาด 3จี ‘มาย’ มั่นใจปี57 มีรายได้ 4หมื่นล้านบาท
กสท เร่งเครื่องดันแผนการตลาด 3 จี “มาย” ทันที หลังบอร์ดไฟเขียวเดินหน้าซื้อเสาสัญญาณจากบีเอฟเคที มูลค่า 1.45 หมื่นล้านบาทแล้ว มั่นใจปีหน้ามีรายได้จากการดำเนินงานเอง 4 หมื่นล้านบาท
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า กสท จะเร่งแผนตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 จี ภายใต้ชื่อแบรนด์ “มาย” (my) ทันที หลังมีความชัดเจนใน 3 ประเด็นหลักว่าไม่ขัดต่อมาตรา 46 พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุและกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) ไม่เข้าข่าย พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมหรือดำเนินงานในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 และทางอัยการสูงสุดเห็นว่าการทำสัญญาถูกต้อง ดังนั้น การประชุมบอร์ด กสท เมื่อวันที่ 18 ก.ค. 56 ที่ผ่านมา อนุมัติโครงการซื้อเสาสัญญาณจาก บริษัท บีเอฟเคที จำกัด ผู้ติดตั้งโครงข่าย 3 จี คลื่น 850 เมกะเฮิรตซ์
“ภายในสัปดาห์นี้จะเสนอให้กระทรวงเทคโน โลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) พิจารณาเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) ตามขั้นตอนแล้ว กสท จะเร่งสรุปแผนตลาดมายทันที ซึ่งการซื้อเสา บีเอฟเคที จะสร้างผลตอบแทนการลงทุนให้กสท ในอัตรา 37% ทันที โดยกสท ตั้งเป้ารายได้จากการดำเนินการเองปี 2557 ประมาณ 4 หมื่นล้านบาท”
รายงานข่าวระบุว่า บอร์ด กสท ได้ปรับลดวงเงินแผนการตลาด 3 จี มาย ลดลงจาก 12,000 ล้านบาท จากที่เคยได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีไอซีทีคนก่อนเหลือประมาณ 800 กว่าล้านบาท ซึ่งหากแผนงานมีความชัดเจนครบถ้วนก็จะเสนอบอร์ดอนุมัติ พร้อมกับนำเสนอให้กระทรวงไอซีทีพิจารณาและนำเสนอคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ก่อนเสนอที่ประชุม ครม.เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
สำหรับการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการโอนย้ายลูกค้าหลังสิ้นสุดสัมปทานกับ บริษัท ทรูมูฟ จำกัด และ บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด หรือ ดีพีซี นั้นอยู่ระหว่างการเจรจาเงื่อนไขที่เบื้องต้นทั้ง 2 รายได้เสนอจ่ายส่วนแบ่งในอัตรา 30% เช่นเดียวกับสัมปทาน แต่ กสท เห็นว่า การที่ทั้ง 2 รายไม่สามารถหาลูกค้าเข้าระบบเพิ่มเติมได้จะทำให้ไม่มีรายได้เพิ่ม จึงเห็นว่าน่าจะใช้โมเดลเดียวกับการจ่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้บริการ 3 จี ของ กสทช.
http://www.dailynews.co.th/technology/220741
ไม่มีความคิดเห็น: