25 กรกฎาคม 2556 กสท.มีมติเพิ่มออกใบอนุญาต 52คลื่นวิทยุ - 22เคเบิลทีวี/ทีวีดาวเทียม (ขอผู้ได้รับใบอนุญาติ) การโฆษณาอาหารและยาเกินจริง หลอกลวง ลามกอนาจาร โฆษณาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เวทย์มนต์ ของขลัง เนื้อหาที่ละเมิด
ประเด็นหลัก
แถลงผลการประชุมคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) ว่า วันนี้ (27 กรกฎาคม 2556) ที่ประชุม กสท. มีมติในเรื่องต่างๆ ดังนี้
1. ที่ประชุม กสท. ได้มีการพิจารณาคำขอประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง โดยที่ประชุม กสท. มีมติเห็นชอบคำขอทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง และอนุญาตเพิ่มเติม จำนวน 52 ใบอนุญาต แบ่งเป็นกิจการบริการธุรกิจ 15 ใบอนุญาต กิจการบริการสาธารณะ5 ใบอนุญาต และกิจการบริการชุมชน 32 ใบอนุญาต จนถึงวันนี้มีจำนวนผู้ได้รับใบอนุญาตไปแล้ว 2,312 ใบอนุญาต
2. ที่ประชุม กสท. ได้พิจารณาความเหมาะสมของการประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ สำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (กิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่) โดยได้อนุญาตช่องรายการประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ จำนวน 22 ใบอนุญาต (ช่องรายการ) จนถึงวันนี้มีผู้ได้รับใบอนุญาตไปแล้ว 752 ใบอนุญาต (ช่องรายการ)
3. ที่ประชุม กสท. ได้พิจารณความเหมาะสมของการประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ เพื่อให้บริการโครงข่ายกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ สำหรับกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ และได้อนุญาตผู้ให้บริการโครงข่ายประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ ระดับชาติ จำนวน 2 ใบอนุญาต ได้แก่ บริษัท ดาต้า ซีดีเอ็มเอ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด และ บริษัท ซิมโฟนี่ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด มหาชน
4. ที่ประชุม กสท. มีการพิจารณา (ร่าง)ประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของสัญญาการให้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก พ.ศ. .... ซึ่งเป็นประกาศที่สำคัญ เนื่องจากเป็นประกาศที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้มีมติให้สำนักงาน กสทช. จัดการรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่มอีกครั้ง ก่อนนำเสนอที่ประชุม กสท. และที่ประชุม กสทช. ต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบกิจการ และเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคด้วย
พ.อ.ดร.นที ศุกลรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า เนื่องจากขณะนี้ กสท. ได้มีการออกใบอนุญาตช่องรายการประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ไปแล้ว คิดเป็นร้อยละ 98 จากจำนวนผู้ยื่นขอใบอนุญาตทั้งหมด ทาง กสท. จึงจะเริ่มเน้นมาตรการการกำกับดูแลทั้งทางด้านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม มีการโฆษณาเกินจริง ในช่องดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีที่ได้รับใบอนุญาตแล้วทุกช่อง เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ และหากพบเห็นช่องรายการใดมีการนำเสนอเนื้อหาไม่เหมาะสม และการโฆษณาเกินจริง สามารถให้ข้อมูล หรือร้องเรียนได้ที่ Call center ของ กสทช. เบอร์ 1200 รวมทั้งได้มอบหมายให้สำนักงาน กสทช. คอยตรวจสอบเนื้อหา และการโฆษณาที่ไม่เหมาะสมควบคู่ไปด้วย
______________________________________
กสท.ออกใบอนุญาต 52 คลื่นวิทยุ - 22 เคเบิลทีวี/ทีวีดาวเทียม
พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธาน กสทช. และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ หรือ กสท. เปิดเผยว่า ที่ประชุม กสท.วันนี้มีมติให้นำร่างประกาศมาตรฐานสัญญาการให้บริการทีวีแบบบอกรับสมาชิก เช่น เคเบิลทีวี และทีวีดาวเทียม ไปรับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อยกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ก่อนนำพิจารณาในที่ประชุมคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ เพื่อเป็นมาตรการคุ้มครองผู้บริโภคที่ใช้บริการให้ได้รับความยุติธรรมและไม่ถูกเอาเปรียบในการรับบริการชมทีวีทางเลือก
พร้อมมีมติออกใบอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงเพิ่มเติม 52 ใบอนุญาต รวมได้ออกไปแล้ว 2,312 ใบอนุญาต และมีมติออกใบอนุญาตช่องรายการเคเบิลทีวีและทีวีดาวเทียมเพิ่มเติม 22 ช่องรายการ ซึ่งที่ผ่านมาได้ออกใบอนุญาตช่องรายการไปแล้ว 752 ช่อง คิดเป็นร้อยละ 98 นอกจากนี้ ยังมีมติออกใบอนุญาตโครงข่ายระดับชาติในกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่เคเบิลทีวี และทีวีดาวเทียมเพิ่มเติมอีก 2 ใบอนุญาต
http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9560000091488&Keyword=%a1%ca%b7
__________________________________________________
กสท.ออกใบอนุญาต 52คลื่นวิทยุ - 22เคเบิลทีวี/ทีวีดาวเทียม
altพ.อ. ดร. นที ศุกลรัตน์ รองประธานกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (รองประธาน กสทช.) ในฐานะประธานกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (ประธาน กสท.)
แถลงผลการประชุมคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) ว่า วันนี้ (27 กรกฎาคม 2556) ที่ประชุม กสท. มีมติในเรื่องต่างๆ ดังนี้
1. ที่ประชุม กสท. ได้มีการพิจารณาคำขอประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง โดยที่ประชุม กสท. มีมติเห็นชอบคำขอทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง และอนุญาตเพิ่มเติม จำนวน 52 ใบอนุญาต แบ่งเป็นกิจการบริการธุรกิจ 15 ใบอนุญาต กิจการบริการสาธารณะ5 ใบอนุญาต และกิจการบริการชุมชน 32 ใบอนุญาต จนถึงวันนี้มีจำนวนผู้ได้รับใบอนุญาตไปแล้ว 2,312 ใบอนุญาต
2. ที่ประชุม กสท. ได้พิจารณาความเหมาะสมของการประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ สำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (กิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่) โดยได้อนุญาตช่องรายการประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ จำนวน 22 ใบอนุญาต (ช่องรายการ) จนถึงวันนี้มีผู้ได้รับใบอนุญาตไปแล้ว 752 ใบอนุญาต (ช่องรายการ)
3. ที่ประชุม กสท. ได้พิจารณความเหมาะสมของการประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ เพื่อให้บริการโครงข่ายกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ สำหรับกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ และได้อนุญาตผู้ให้บริการโครงข่ายประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ ระดับชาติ จำนวน 2 ใบอนุญาต ได้แก่ บริษัท ดาต้า ซีดีเอ็มเอ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด และ บริษัท ซิมโฟนี่ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด มหาชน
4. ที่ประชุม กสท. มีการพิจารณา (ร่าง)ประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของสัญญาการให้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก พ.ศ. .... ซึ่งเป็นประกาศที่สำคัญ เนื่องจากเป็นประกาศที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้มีมติให้สำนักงาน กสทช. จัดการรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่มอีกครั้ง ก่อนนำเสนอที่ประชุม กสท. และที่ประชุม กสทช. ต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบกิจการ และเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคด้วย
พ.อ.ดร.นที ศุกลรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า เนื่องจากขณะนี้ กสท. ได้มีการออกใบอนุญาตช่องรายการประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ไปแล้ว คิดเป็นร้อยละ 98 จากจำนวนผู้ยื่นขอใบอนุญาตทั้งหมด ทาง กสท. จึงจะเริ่มเน้นมาตรการการกำกับดูแลทั้งทางด้านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม มีการโฆษณาเกินจริง ในช่องดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีที่ได้รับใบอนุญาตแล้วทุกช่อง เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ และหากพบเห็นช่องรายการใดมีการนำเสนอเนื้อหาไม่เหมาะสม และการโฆษณาเกินจริง สามารถให้ข้อมูล หรือร้องเรียนได้ที่ Call center ของ กสทช. เบอร์ 1200 รวมทั้งได้มอบหมายให้สำนักงาน กสทช. คอยตรวจสอบเนื้อหา และการโฆษณาที่ไม่เหมาะสมควบคู่ไปด้วย
http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=192388:-52-22&catid=176:2009-06-25-09-26-02&Itemid=524
_________________________________________________________________
กสท. จับตามองทีวีดาวเทียม-เคเบิลทีวี 752 ช่อง
กสท. เอาจริง สั่งสำนักงานกสทช. มอนิเตอร์ช่องรายการเคเบิลทีวี – ทีวีดาวเทียม 752 ช่อง ห้ามมีเนื้อหาอาหารและยาเกินจริง ลามกอนาจาร โฆษณาสิ่งศักดิ์สิทธิ์
วันนี้(25ก.ค.)ที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.)พ.อ.ดร.นที ศุกลรัตน์ รองประธานกสทช.และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์(กสท.)เปิดเผยว่า ที่ประชุมกสท.จะเริ่มกำกับดูแลเนื้อหา รายการในช่องเคเบิลทีวี ทีวีดาวเทียม โดยให้สำนักงานกสทช.มอนิเตอร์ช่องรายการที่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจำนวน 752 ช่องรายการ เพื่อควบคุมเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมของช่องรายการ อาทิ การโฆษณาอาหารและยาเกินจริง หลอกลวง ลามกอนาจาร โฆษณาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เวทย์มนต์ ของขลัง หรือแม้กระทั่งเนื้อหาที่ละเมิดผู้บริโภค
ทั้งนี้ หากผู้บริโภครับชมแล้วพบว่า เนื้อหาไม่เหมาะสมขอให้ร้องเรียนที่ กสทช.1200 หลังจากนั้นจะนำไปเข้าสู่กระบวนการรับเรื่องราวร้องเรียนเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยขอความร่วมมือช่องรายการส่งเทปเพื่อให้กสทช.ตรวจสอบเพื่อหาข้อเท็จจริง ในขณะเดียวกันจะช่วยคัดกรองผู้ประกอบการที่มีการละเมิดเนื้อหารายการและไม่มีจุดประสงค์ในการประกอบกิจการโทรทัศน์ จะไม่มีการต่อใบอนุญาตอีก 4 ปี ส่วนผู้ประกอบการที่กระทำผิด แต่มีจุดประสงค์ที่ต้องการประกอบกิจการแท้จริง จะพิจารณาตามขั้นตอนโทษตักเตือน ปรับ และพักใช้ใบอนุญาต ตามขั้นตอน
“ผู้ประกอบการทีวีต้องรับผิดชอบต่อสังคม ใครที่แสวงหาประโยชน์ก็ต้องถูกดำเนินการตามกฎหมายเนื่องจากในขณะนี้กสท.ให้ใบอนุญาตก่อน 1 ปี หากไม่เหมาะสมก็ต้องพิจารณาการต่ออายุใบอนุญาตอีกครั้ง หรือแม้กระทั่งผู้ประกอบการที่ไม่เข้ามาขอใบอนุญาตเมื่อตรวจพบก็ต้องถูกดำเนินการตามกฎหมาย ” พ.อ.ดร.นที กล่าว
อย่างไรก็ตามกสท.ยังให้นำประกาศมาตรฐานสัญญาการให้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก ไปรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่ม เพื่อนำเข้าพิจารณาบอร์ดกสท. และอนุญาตทดลองวิทยุเพิ่มอีก 25 สถานี แบ่งเป็นธุรกิจ 52 สถานี สาธารณะ 5 สถานี และชุมชน 32 สถานี รวมให้อนุญาตทดลองไปแล้ว 2,312 สถานี นอกจากนี้ยังให้ใบอนุญาตโครงข่ายที่ไม่ใช้คลื่นความถี่(เคบิล และ ดาวเทียม )ระดับชาติจำนวน 2 ใบ
http://www.dailynews.co.th/technology/221583
แถลงผลการประชุมคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) ว่า วันนี้ (27 กรกฎาคม 2556) ที่ประชุม กสท. มีมติในเรื่องต่างๆ ดังนี้
1. ที่ประชุม กสท. ได้มีการพิจารณาคำขอประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง โดยที่ประชุม กสท. มีมติเห็นชอบคำขอทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง และอนุญาตเพิ่มเติม จำนวน 52 ใบอนุญาต แบ่งเป็นกิจการบริการธุรกิจ 15 ใบอนุญาต กิจการบริการสาธารณะ5 ใบอนุญาต และกิจการบริการชุมชน 32 ใบอนุญาต จนถึงวันนี้มีจำนวนผู้ได้รับใบอนุญาตไปแล้ว 2,312 ใบอนุญาต
2. ที่ประชุม กสท. ได้พิจารณาความเหมาะสมของการประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ สำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (กิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่) โดยได้อนุญาตช่องรายการประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ จำนวน 22 ใบอนุญาต (ช่องรายการ) จนถึงวันนี้มีผู้ได้รับใบอนุญาตไปแล้ว 752 ใบอนุญาต (ช่องรายการ)
3. ที่ประชุม กสท. ได้พิจารณความเหมาะสมของการประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ เพื่อให้บริการโครงข่ายกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ สำหรับกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ และได้อนุญาตผู้ให้บริการโครงข่ายประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ ระดับชาติ จำนวน 2 ใบอนุญาต ได้แก่ บริษัท ดาต้า ซีดีเอ็มเอ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด และ บริษัท ซิมโฟนี่ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด มหาชน
4. ที่ประชุม กสท. มีการพิจารณา (ร่าง)ประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของสัญญาการให้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก พ.ศ. .... ซึ่งเป็นประกาศที่สำคัญ เนื่องจากเป็นประกาศที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้มีมติให้สำนักงาน กสทช. จัดการรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่มอีกครั้ง ก่อนนำเสนอที่ประชุม กสท. และที่ประชุม กสทช. ต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบกิจการ และเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคด้วย
พ.อ.ดร.นที ศุกลรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า เนื่องจากขณะนี้ กสท. ได้มีการออกใบอนุญาตช่องรายการประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ไปแล้ว คิดเป็นร้อยละ 98 จากจำนวนผู้ยื่นขอใบอนุญาตทั้งหมด ทาง กสท. จึงจะเริ่มเน้นมาตรการการกำกับดูแลทั้งทางด้านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม มีการโฆษณาเกินจริง ในช่องดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีที่ได้รับใบอนุญาตแล้วทุกช่อง เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ และหากพบเห็นช่องรายการใดมีการนำเสนอเนื้อหาไม่เหมาะสม และการโฆษณาเกินจริง สามารถให้ข้อมูล หรือร้องเรียนได้ที่ Call center ของ กสทช. เบอร์ 1200 รวมทั้งได้มอบหมายให้สำนักงาน กสทช. คอยตรวจสอบเนื้อหา และการโฆษณาที่ไม่เหมาะสมควบคู่ไปด้วย
______________________________________
กสท.ออกใบอนุญาต 52 คลื่นวิทยุ - 22 เคเบิลทีวี/ทีวีดาวเทียม
พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธาน กสทช. และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ หรือ กสท. เปิดเผยว่า ที่ประชุม กสท.วันนี้มีมติให้นำร่างประกาศมาตรฐานสัญญาการให้บริการทีวีแบบบอกรับสมาชิก เช่น เคเบิลทีวี และทีวีดาวเทียม ไปรับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อยกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ก่อนนำพิจารณาในที่ประชุมคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ เพื่อเป็นมาตรการคุ้มครองผู้บริโภคที่ใช้บริการให้ได้รับความยุติธรรมและไม่ถูกเอาเปรียบในการรับบริการชมทีวีทางเลือก
พร้อมมีมติออกใบอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงเพิ่มเติม 52 ใบอนุญาต รวมได้ออกไปแล้ว 2,312 ใบอนุญาต และมีมติออกใบอนุญาตช่องรายการเคเบิลทีวีและทีวีดาวเทียมเพิ่มเติม 22 ช่องรายการ ซึ่งที่ผ่านมาได้ออกใบอนุญาตช่องรายการไปแล้ว 752 ช่อง คิดเป็นร้อยละ 98 นอกจากนี้ ยังมีมติออกใบอนุญาตโครงข่ายระดับชาติในกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่เคเบิลทีวี และทีวีดาวเทียมเพิ่มเติมอีก 2 ใบอนุญาต
http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9560000091488&Keyword=%a1%ca%b7
__________________________________________________
กสท.ออกใบอนุญาต 52คลื่นวิทยุ - 22เคเบิลทีวี/ทีวีดาวเทียม
altพ.อ. ดร. นที ศุกลรัตน์ รองประธานกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (รองประธาน กสทช.) ในฐานะประธานกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (ประธาน กสท.)
แถลงผลการประชุมคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) ว่า วันนี้ (27 กรกฎาคม 2556) ที่ประชุม กสท. มีมติในเรื่องต่างๆ ดังนี้
1. ที่ประชุม กสท. ได้มีการพิจารณาคำขอประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง โดยที่ประชุม กสท. มีมติเห็นชอบคำขอทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง และอนุญาตเพิ่มเติม จำนวน 52 ใบอนุญาต แบ่งเป็นกิจการบริการธุรกิจ 15 ใบอนุญาต กิจการบริการสาธารณะ5 ใบอนุญาต และกิจการบริการชุมชน 32 ใบอนุญาต จนถึงวันนี้มีจำนวนผู้ได้รับใบอนุญาตไปแล้ว 2,312 ใบอนุญาต
2. ที่ประชุม กสท. ได้พิจารณาความเหมาะสมของการประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ สำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ (กิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่) โดยได้อนุญาตช่องรายการประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ จำนวน 22 ใบอนุญาต (ช่องรายการ) จนถึงวันนี้มีผู้ได้รับใบอนุญาตไปแล้ว 752 ใบอนุญาต (ช่องรายการ)
3. ที่ประชุม กสท. ได้พิจารณความเหมาะสมของการประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ เพื่อให้บริการโครงข่ายกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ สำหรับกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ และได้อนุญาตผู้ให้บริการโครงข่ายประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ ระดับชาติ จำนวน 2 ใบอนุญาต ได้แก่ บริษัท ดาต้า ซีดีเอ็มเอ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด และ บริษัท ซิมโฟนี่ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด มหาชน
4. ที่ประชุม กสท. มีการพิจารณา (ร่าง)ประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของสัญญาการให้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก พ.ศ. .... ซึ่งเป็นประกาศที่สำคัญ เนื่องจากเป็นประกาศที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้มีมติให้สำนักงาน กสทช. จัดการรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่มอีกครั้ง ก่อนนำเสนอที่ประชุม กสท. และที่ประชุม กสทช. ต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบกิจการ และเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคด้วย
พ.อ.ดร.นที ศุกลรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า เนื่องจากขณะนี้ กสท. ได้มีการออกใบอนุญาตช่องรายการประเภทกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ไปแล้ว คิดเป็นร้อยละ 98 จากจำนวนผู้ยื่นขอใบอนุญาตทั้งหมด ทาง กสท. จึงจะเริ่มเน้นมาตรการการกำกับดูแลทั้งทางด้านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม มีการโฆษณาเกินจริง ในช่องดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีที่ได้รับใบอนุญาตแล้วทุกช่อง เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ และหากพบเห็นช่องรายการใดมีการนำเสนอเนื้อหาไม่เหมาะสม และการโฆษณาเกินจริง สามารถให้ข้อมูล หรือร้องเรียนได้ที่ Call center ของ กสทช. เบอร์ 1200 รวมทั้งได้มอบหมายให้สำนักงาน กสทช. คอยตรวจสอบเนื้อหา และการโฆษณาที่ไม่เหมาะสมควบคู่ไปด้วย
http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=192388:-52-22&catid=176:2009-06-25-09-26-02&Itemid=524
_________________________________________________________________
กสท. จับตามองทีวีดาวเทียม-เคเบิลทีวี 752 ช่อง
กสท. เอาจริง สั่งสำนักงานกสทช. มอนิเตอร์ช่องรายการเคเบิลทีวี – ทีวีดาวเทียม 752 ช่อง ห้ามมีเนื้อหาอาหารและยาเกินจริง ลามกอนาจาร โฆษณาสิ่งศักดิ์สิทธิ์
วันนี้(25ก.ค.)ที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.)พ.อ.ดร.นที ศุกลรัตน์ รองประธานกสทช.และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์(กสท.)เปิดเผยว่า ที่ประชุมกสท.จะเริ่มกำกับดูแลเนื้อหา รายการในช่องเคเบิลทีวี ทีวีดาวเทียม โดยให้สำนักงานกสทช.มอนิเตอร์ช่องรายการที่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจำนวน 752 ช่องรายการ เพื่อควบคุมเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมของช่องรายการ อาทิ การโฆษณาอาหารและยาเกินจริง หลอกลวง ลามกอนาจาร โฆษณาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เวทย์มนต์ ของขลัง หรือแม้กระทั่งเนื้อหาที่ละเมิดผู้บริโภค
ทั้งนี้ หากผู้บริโภครับชมแล้วพบว่า เนื้อหาไม่เหมาะสมขอให้ร้องเรียนที่ กสทช.1200 หลังจากนั้นจะนำไปเข้าสู่กระบวนการรับเรื่องราวร้องเรียนเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยขอความร่วมมือช่องรายการส่งเทปเพื่อให้กสทช.ตรวจสอบเพื่อหาข้อเท็จจริง ในขณะเดียวกันจะช่วยคัดกรองผู้ประกอบการที่มีการละเมิดเนื้อหารายการและไม่มีจุดประสงค์ในการประกอบกิจการโทรทัศน์ จะไม่มีการต่อใบอนุญาตอีก 4 ปี ส่วนผู้ประกอบการที่กระทำผิด แต่มีจุดประสงค์ที่ต้องการประกอบกิจการแท้จริง จะพิจารณาตามขั้นตอนโทษตักเตือน ปรับ และพักใช้ใบอนุญาต ตามขั้นตอน
“ผู้ประกอบการทีวีต้องรับผิดชอบต่อสังคม ใครที่แสวงหาประโยชน์ก็ต้องถูกดำเนินการตามกฎหมายเนื่องจากในขณะนี้กสท.ให้ใบอนุญาตก่อน 1 ปี หากไม่เหมาะสมก็ต้องพิจารณาการต่ออายุใบอนุญาตอีกครั้ง หรือแม้กระทั่งผู้ประกอบการที่ไม่เข้ามาขอใบอนุญาตเมื่อตรวจพบก็ต้องถูกดำเนินการตามกฎหมาย ” พ.อ.ดร.นที กล่าว
อย่างไรก็ตามกสท.ยังให้นำประกาศมาตรฐานสัญญาการให้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก ไปรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่ม เพื่อนำเข้าพิจารณาบอร์ดกสท. และอนุญาตทดลองวิทยุเพิ่มอีก 25 สถานี แบ่งเป็นธุรกิจ 52 สถานี สาธารณะ 5 สถานี และชุมชน 32 สถานี รวมให้อนุญาตทดลองไปแล้ว 2,312 สถานี นอกจากนี้ยังให้ใบอนุญาตโครงข่ายที่ไม่ใช้คลื่นความถี่(เคบิล และ ดาวเทียม )ระดับชาติจำนวน 2 ใบ
http://www.dailynews.co.th/technology/221583
ไม่มีความคิดเห็น: