11 สิงหาคม 2556 กสทช.สุภิญญา ชี้ การปรับแก้ พ.ร.บ.กสทช. ถือว่าเร็วเกินไป++ ( รู้ดีชนวนเหตุก่อให้เกิดการถอดถอน คือเรื่อง สัมปทน 1800)
ประเด็นหลัก
โดยในด้านการเป็นกรรมการ กสทช.ถ้ามีการปรับแก้ก็ต้องปล่อยให้เป็นไปตามกระบวนการประชาธิปไตย โดยผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ในด้านของประชาชนที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ กสทช. มองว่า ระยะเวลาการทำงานแค่ 2 ปี ยังไม่ควรปรับแก้ไข ถือว่าเร็วเกินไป ทั้งนี้ เข้าใจว่า กสทช.ทำให้หลายฝ่ายผิดหวังในหลายเรื่อง โดยเฉพาะฝั่งโทรคมนาคม ในการจัดสรรคลื่นความถี่ 3 จี กรณีคลื่น 1,800 เมกะเฮิรตซ์ ซิมดับ ที่ต่อสัญญาให้เอกชน 1 ปี ซึ่งเป็นชนวนเหตุก่อให้เกิดการถอดถอน และโดนมองว่า กสทช.ไม่ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงในระบบโทรคมนาคม
สำหรับสิ่งที่จะทำให้ประชาชนเห็นการเปลี่ยนแปลงคือ ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ คือการประมูลทีวีดิจิทัลในช่วงเดือน ก.ย. 2556 ที่ประชาชนจับตาดูอยู่ว่าจะออก มาในรูปแบบใด เพราะดูแล้วมีผู้เข้าร่วมประมูลหน้าใหม่เกิดขึ้น จะเปลี่ยนระบบสัมปทานเป็นใบอนุญาต และหาก กสทช. ไม่ต้องการให้เกิดการแก้ไข จะต้องพิสูจน์ตัวเองทั้งเรื่องการจัดสรรคลื่นความถี่และการกำกับดูแล.
______________________________________
สุภิญญา มองแก้พ.ร.บ.กสทช.เร็วเกินไป
“สุภิญญา” มอง แก้ พ.ร.บ.กสทช.เร็วเกินไป แต่หากมองในส่วนของกรรมการ กสทช.น้อมรับการเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการประชาธิปไตย ย้ำ กสทช.ต้องพิสูจน์ตัวเองโดยเฉพาะการจัดสรรคลื่นและการกำกับดูแล
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช. ) และกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) กล่าวถึงกรณีที่ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เตรียมเสนอขอปรับแก้ไขพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 นั้น ส่วนตัวมีความคิดเห็น 2 ด้าน
โดยในด้านการเป็นกรรมการ กสทช.ถ้ามีการปรับแก้ก็ต้องปล่อยให้เป็นไปตามกระบวนการประชาธิปไตย โดยผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ในด้านของประชาชนที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ กสทช. มองว่า ระยะเวลาการทำงานแค่ 2 ปี ยังไม่ควรปรับแก้ไข ถือว่าเร็วเกินไป ทั้งนี้ เข้าใจว่า กสทช.ทำให้หลายฝ่ายผิดหวังในหลายเรื่อง โดยเฉพาะฝั่งโทรคมนาคม ในการจัดสรรคลื่นความถี่ 3 จี กรณีคลื่น 1,800 เมกะเฮิรตซ์ ซิมดับ ที่ต่อสัญญาให้เอกชน 1 ปี ซึ่งเป็นชนวนเหตุก่อให้เกิดการถอดถอน และโดนมองว่า กสทช.ไม่ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงในระบบโทรคมนาคม
สำหรับสิ่งที่จะทำให้ประชาชนเห็นการเปลี่ยนแปลงคือ ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ คือการประมูลทีวีดิจิทัลในช่วงเดือน ก.ย. 2556 ที่ประชาชนจับตาดูอยู่ว่าจะออก มาในรูปแบบใด เพราะดูแล้วมีผู้เข้าร่วมประมูลหน้าใหม่เกิดขึ้น จะเปลี่ยนระบบสัมปทานเป็นใบอนุญาต และหาก กสทช. ไม่ต้องการให้เกิดการแก้ไข จะต้องพิสูจน์ตัวเองทั้งเรื่องการจัดสรรคลื่นความถี่และการกำกับดูแล.
http://www.dailynews.co.th/technology/224726
โดยในด้านการเป็นกรรมการ กสทช.ถ้ามีการปรับแก้ก็ต้องปล่อยให้เป็นไปตามกระบวนการประชาธิปไตย โดยผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ในด้านของประชาชนที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ กสทช. มองว่า ระยะเวลาการทำงานแค่ 2 ปี ยังไม่ควรปรับแก้ไข ถือว่าเร็วเกินไป ทั้งนี้ เข้าใจว่า กสทช.ทำให้หลายฝ่ายผิดหวังในหลายเรื่อง โดยเฉพาะฝั่งโทรคมนาคม ในการจัดสรรคลื่นความถี่ 3 จี กรณีคลื่น 1,800 เมกะเฮิรตซ์ ซิมดับ ที่ต่อสัญญาให้เอกชน 1 ปี ซึ่งเป็นชนวนเหตุก่อให้เกิดการถอดถอน และโดนมองว่า กสทช.ไม่ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงในระบบโทรคมนาคม
สำหรับสิ่งที่จะทำให้ประชาชนเห็นการเปลี่ยนแปลงคือ ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ คือการประมูลทีวีดิจิทัลในช่วงเดือน ก.ย. 2556 ที่ประชาชนจับตาดูอยู่ว่าจะออก มาในรูปแบบใด เพราะดูแล้วมีผู้เข้าร่วมประมูลหน้าใหม่เกิดขึ้น จะเปลี่ยนระบบสัมปทานเป็นใบอนุญาต และหาก กสทช. ไม่ต้องการให้เกิดการแก้ไข จะต้องพิสูจน์ตัวเองทั้งเรื่องการจัดสรรคลื่นความถี่และการกำกับดูแล.
______________________________________
สุภิญญา มองแก้พ.ร.บ.กสทช.เร็วเกินไป
“สุภิญญา” มอง แก้ พ.ร.บ.กสทช.เร็วเกินไป แต่หากมองในส่วนของกรรมการ กสทช.น้อมรับการเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการประชาธิปไตย ย้ำ กสทช.ต้องพิสูจน์ตัวเองโดยเฉพาะการจัดสรรคลื่นและการกำกับดูแล
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช. ) และกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) กล่าวถึงกรณีที่ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เตรียมเสนอขอปรับแก้ไขพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 นั้น ส่วนตัวมีความคิดเห็น 2 ด้าน
โดยในด้านการเป็นกรรมการ กสทช.ถ้ามีการปรับแก้ก็ต้องปล่อยให้เป็นไปตามกระบวนการประชาธิปไตย โดยผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ในด้านของประชาชนที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ กสทช. มองว่า ระยะเวลาการทำงานแค่ 2 ปี ยังไม่ควรปรับแก้ไข ถือว่าเร็วเกินไป ทั้งนี้ เข้าใจว่า กสทช.ทำให้หลายฝ่ายผิดหวังในหลายเรื่อง โดยเฉพาะฝั่งโทรคมนาคม ในการจัดสรรคลื่นความถี่ 3 จี กรณีคลื่น 1,800 เมกะเฮิรตซ์ ซิมดับ ที่ต่อสัญญาให้เอกชน 1 ปี ซึ่งเป็นชนวนเหตุก่อให้เกิดการถอดถอน และโดนมองว่า กสทช.ไม่ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงในระบบโทรคมนาคม
สำหรับสิ่งที่จะทำให้ประชาชนเห็นการเปลี่ยนแปลงคือ ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ คือการประมูลทีวีดิจิทัลในช่วงเดือน ก.ย. 2556 ที่ประชาชนจับตาดูอยู่ว่าจะออก มาในรูปแบบใด เพราะดูแล้วมีผู้เข้าร่วมประมูลหน้าใหม่เกิดขึ้น จะเปลี่ยนระบบสัมปทานเป็นใบอนุญาต และหาก กสทช. ไม่ต้องการให้เกิดการแก้ไข จะต้องพิสูจน์ตัวเองทั้งเรื่องการจัดสรรคลื่นความถี่และการกำกับดูแล.
http://www.dailynews.co.th/technology/224726
ไม่มีความคิดเห็น: