11 กันยายน 2556 (เกาะติดประมูลDigital TV) มีผู้ซื้อซองอีก 15 ราย (tvpoolและMCOT เด็ก ข่าว SD)(Voice TV SD)(workpoint SD HD)(Spring News ข่าว)(Bangkok Airways SD HD)(MONO ข่าว HD)(เนชั่น คิดส์ เด็ก)(เอ็นบีซี เน๊กซ์ วิชั่น ข่าว)(แบงคอก บิสสิเนส บรอดแคสติ้ง HD)(isport ข่าว)(ไอ-สปอร์ต ข่าว)(เดลินิวส์ ข่าว)(ทัช ทีวี เด็ก)
ประเด็นหลัก
1.บริษัท วอยซ์ ทีวี จำกัด ซึ่งเข้ามาซื้อ 2 ซองได้แก่ ช่องข่าว และซองประเภททั่วไป (วาไรตี้)ความคมชัดมาตรฐาน (SD)
2.บริษัท ไทย บรอดคาสติ้ง จำกัด (เครือ บริษัท เวิร์คพ้อยท์ จำกัด (มหาชน) ซื้อ 2 ซองคือ ช่องประเภททั่วไป SD และซองประเภททั่วไป (วาไรตี้) ความคมชัดสูง (HD)
3.บริษัท สปริงส์นิวส์ เทเลวิชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
4.บริษัท ไทยทีวี จำกัด (เครือนิตยสารทีวีพูล) ซื้อ 3 ซองคือ ช่องเด็ก ,ช่องข่าว และประเภททั่วไป SD
5.บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ซื้อ 3 ซอง ได้แก่ ช่องเด็ก, ซองประเภททั่วไป SD และซื้อซองประเภททั่วไป HD
6.บริษัท บางกอกมีเดีย แอนด์ บรอดคาสติ้ง จำกัด(กลุ่มปราสาททองโอสถ : บางกอกแอร์เวย์) ซื้อ 2 ซองคือ ช่องประเภททั่วไป SD และประเภททั่วไป HD
7.บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด กลุ่มบริษัท จัสมิน จำกัด(มหาชน)ซื้อซองช่องประเภททั่วไป SD
8.บริษัท โมโน เจนเนอเรชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
9.บริษัท โมโน ทีวี จำกัด ซื้อซองช่องประเภททั่วไป HD
10.บริษัท เนชั่น คิดส์ จำกัด ซื้อซองช่องเด็ก
11.บริษัท เอ็นบีซี เน๊กซ์ วิชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
12.บริษัท แบงคอก บิสสิเนส บรอดแคสติ้ง จำกัด ซื้อซองช่องประเภททั่วไป HD
13.บริษัท ไอ-สปอร์ต มีเดีย จำกัด (สยามกีฬา) ซื้อซองช่องข่าว
14.บริษัท 3เอ.มาร์เก๊ตติ้ง จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
ขณะที่บรรยายกาศการจำหน่ายซองประมูลทีวีดิจิตอลในช่วงบ่าย มีบริษัท ดีเอ็น บรอดคาสท์ จำกัด บริษัทในเครือหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ เข้ามาซื้อซองในช่องข่าวซึ่งเป็นบริษัทที่
15 และรายสุดท้ายในวันที่ 2 คือ
บริษัท ทัช ทีวี จำกัด เข้ามาซื้อซองในช่องเด็ก รวมบริษัทที่มาขอซื้อซองประมูลวันที่ 2 รวม 16 ราย 23 ชอง แบ่งเป็นช่องเด็ก 4 ราย ช่องข่าว 8 ราย ช่อง SD 7 รายและช่อง HD 4 ราย
มีบริษัท ดีเอ็น บรอดคาสท์ จำกัด บริษัทในเครือหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ เข้ามาซื้อซองในช่องข่าว
_____________________________________
ขายซองประมูล 'ทีวีดิจิตอล' คึก! 2วันเอกชนแห่ซื้อกว่า17ราย
สรุปสองวันเปิดขายเอกสารการประมูลทีวีดิจิตอล เอกชนยักษ์ใหญ่ในอุตสาหกรรมทีวีแห่ซื้อซองแล้วกว่า 17 ราย เผยส่วนใหญ่ซื้อซองมากกว่า 1 ประเภท อ้างเพราะ กสทช.ให้ข้อมูลไม่ชัดเจน จึงกลัวพลาดหากซื้อเพียงซองเดียว...
เมื่อวันที่ 10 ก.ย. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า บรรยากาศการซื้อเอกสารประมูลดิจิตอลทีวีที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในวันที่สองเป็นไปอย่างคึกคัก เพียงครึ่งวันมีผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโทรทัศน์มาซื้อเอกสารนับ 10 ราย ยอดรวมของการซื้อเอกสารส่วนของช่องเด็ก มีบริษัทเอกชนซื้อไปแล้ว 5 ราย ได้แก่ บริษัท โรสมีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ , บริษัท บีอีซี มัลติมีเดีย ในเครือเดียวกับไทยทีวีสีช่อง 3 , ทีวีพูล , อสมท และเนชั่นมัลติมีเดีย
ส่วนช่องข่าว มีผู้สนใจซื้อซองมากถึง 8 ราย แม้ว่า กสทช.จะเปิดให้ประมูลเพียง 7 ช่อง โดยกลุ่มที่ซื้อซองไปแล้วมีโพสต์ทีวี , บีอีซีมัลติมีเดีย , วอยซ์ทีวี , สปริงคอร์ปอเรชั่น , ทีวีพูล , เนชั่นมัลติมีเดีย , สยามกีฬา และ 3A มาร์เก็ตติ้ง
ด้านช่องรายการวาไรตี้ประเภท SD ผู้ประกอบการสนใจมากที่สุดซื้อเอกสารไปแล้ว 11 รายจากที่ กสทช.จะให้ใบอนุญาต 7 ช่อง มีทั้งบริษัท บีบีทีวีแซทเทลวิชั่น ในเครือช่อง7 , ทัชทีวี , บริษัทในเครือจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ , บีอีซีมัลติมีเดีย , วอยซ์ทีวี , ทีวีพูล , อสมท. , เนชั่นมัลติมีเดีย , โมโนกรุ๊ป , บางกอกมีเดียของนักธุรกิจชื่อดังนายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ และไทยบรอดคาสติ้งในเครือเวิร์คพอยท์
สำหรับช่องรายการประเภทไฮเดฟฟิเนชั่น หรือ HD มีจำนวนผู้สนใจซื้อเอกสารเท่ากับที่ กสทช.จะเปิดประมูลคือ 7 ช่องรายการ ได้แก่ บริษัทกรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ หรือ ช่อง7 , บีอีซีมัลติมีเดียบริษัทในเครือช่อง3 , จีเอ็มเอ็ม เอชดี ดิจิตัล , อสมท. , โมโนกรุ๊ป , บางกอกมีเดีย และบริษัทในเครือเวิร์คพอยท์
นายอดิศักดิ์ ลิมปรุ่งพัฒนกิจ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เนชั่นบรอดแคสติ้ง เปิดเผยว่า สาเหตุที่ต้องซื้อเอกสารหลายช่องเพราะเกรงว่า หากเลือกเฉพาะช่องใดช่องหนึ่งอาจพลาดไม่ได้เป็นเจ้าของสถานีโทรทัศน์ดิจิตอล เนื่องจาก กสทช.ไม่ได้ให้ข้อมูลที่ชัดเจนทั้งเรื่องของค่าเช่าโครงข่าย กำหนดการประมูลที่แน่นอนว่าจะประมูลช่องใดก่อน ทำให้ประเมินการแข่งขันยาก
นายชลากรณ์ ปัญญาโฉม ผอ.ฝ่ายสร้างสรรค์การตลาด บริษัท เวิร์คพอยท์ เอนเตอร์เทนเม้น จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า สาเหตุที่ต้องซื้อหลายซอง เพื่อกันไว้ เนื่องจากต้องใช้เวลาอีกนานนับเดือนกว่าจะทราบว่าค่าเช่าโครงข่ายอยู่ที่เท่าไร และ กสทช.จะกำหนดกฎมัสแครี่ หรือ รายการที่ต้องนำมาออกอย่างไรบ้างและที่สำคัญคือ ลำดับการประมูลเพราะยังไม่มีใครทราบว่าจะประมูลช่องรายการใดก่อนหลัง
"ท้ายที่สุด เราคงต้องเลือกแค่ 1 หรือ 2 แต่ตอนนี้ซื้อไว้ก่อนจะได้ไม่พลาด เชื่อว่าทุกเจ้าต้องซื้อเผื่อไว้ เพราะ กสทช.ยังไม่บอกข้อมูลอะไรเลยแม้จะเป็นการเพิ่มต้นทุนแต่ทุกรายก็ต้องยอม" นายชลากรณ์ กล่าว
ทั้งนี้ยังเหลือเวลาอีก 1 วันสำหรับการซื้อซองประมูลทีีวีดิจิตอล แต่ยักษ์ใหญ่ในวงการสื่อและวงการบันเทิงอีกหลายรายที่ยังไม่เดินทางมาซื้อ เช่น ทรูส์วิชั่น เดลินิวส์ และอาร์เอส.
โดย: ไทยรัฐออนไลน์
http://m.thairath.co.th/content/tech/369180
___________________________________________
เอกชนตบเท้า ซื้อซองประมูลทีวีดิจิตอล 2 วันรวม 23 ราย
เอกชนเข้าคิวซื้อซองประมูลทีวีดิจิตอลวันที่ 2 (11 ก.ย.) เพิ่มอีก 16 บริษัท 23 ซอง รวม 2 วันกสทช.ขายซองไปแล้ว 34 ซอง ระบุช่องข่าว และทั่วไป SD แห่ซื้อซองมากสุด
บรรยากาศการเปิดจำหน่ายเอกสารการประมูลทีวีดิจิตอลจำนวน 24 ช่องซึ่งนับเป็นวันที่ 2 ของการเปิดจำหน่ายซองประมูล ณ.สำนักงาน กสทช.ตลอดวันนี้ (11 ก.ย.56) มีผู้ประกอบการทยอยเดินทางเข้าซื้อซองเอกสารเป็นรายแรกตั้งแต่เวลา 09.30 น. คือ 1.บริษัท วอยซ์ ทีวี จำกัด ซึ่งเข้ามาซื้อ 2 ซองได้แก่ ช่องข่าว และซองประเภททั่วไป (วาไรตี้)ความคมชัดมาตรฐาน (SD)
2.บริษัท ไทย บรอดคาสติ้ง จำกัด (เครือ บริษัท เวิร์คพ้อยท์ จำกัด (มหาชน) ซื้อ 2 ซองคือ ช่องประเภททั่วไป SD และซองประเภททั่วไป (วาไรตี้) ความคมชัดสูง (HD) 3.บริษัท สปริงส์นิวส์ เทเลวิชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว 4.บริษัท ไทยทีวี จำกัด (เครือนิตยสารทีวีพูล) ซื้อ 3 ซองคือ ช่องเด็ก ,ช่องข่าว และประเภททั่วไป SD 5.บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ซื้อ 3 ซอง ได้แก่ ช่องเด็ก, ซองประเภททั่วไป SD และซื้อซองประเภททั่วไป HD 6.บริษัท บางกอกมีเดีย แอนด์ บรอดคาสติ้ง จำกัด(กลุ่มปราสาททองโอสถ : บางกอกแอร์เวย์) ซื้อ 2 ซองคือ ช่องประเภททั่วไป SD และประเภททั่วไป HD
7.บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด กลุ่มบริษัท จัสมิน จำกัด(มหาชน)ซื้อซองช่องประเภททั่วไป SD 8.บริษัท โมโน เจนเนอเรชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว 9.บริษัท โมโน ทีวี จำกัด ซื้อซองช่องประเภททั่วไป HD 10.บริษัท เนชั่น คิดส์ จำกัด ซื้อซองช่องเด็ก 11.บริษัท เอ็นบีซี เน๊กซ์ วิชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว 12.บริษัท แบงคอก บิสสิเนส บรอดแคสติ้ง จำกัด ซื้อซองช่องประเภททั่วไป HD 13.บริษัท ไอ-สปอร์ต มีเดีย จำกัด (สยามกีฬา) ซื้อซองช่องข่าว 14.บริษัท 3เอ.มาร์เก๊ตติ้ง จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
ขณะที่บรรยายกาศการจำหน่ายซองประมูลทีวีดิจิตอลในช่วงบ่าย มีบริษัท ดีเอ็น บรอดคาสท์ จำกัด บริษัทในเครือหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ เข้ามาซื้อซองในช่องข่าวซึ่งเป็นบริษัทที่ 15 และรายสุดท้ายในวันที่ 2 คือบริษัท ทัช ทีวี จำกัด เข้ามาซื้อซองในช่องเด็ก รวมบริษัทที่มาขอซื้อซองประมูลวันที่ 2 รวม 16 ราย 23 ชอง แบ่งเป็นช่องเด็ก 4 ราย ช่องข่าว 8 ราย ช่อง SD 7 รายและช่อง HD 4 ราย
อย่างไรก็ดีรวม 2 วัน (10-11 ก.ย.) ที่เปิดขายซองเอกสารการประมูลทีวีดิจิตอลจำนวน 24 ช่องมีผู้ประกอบการที่เข้าซื้อซองรวม 23 ราย 34 ซอง โดยหมวดที่มีผู้ประกอบการเข้ามาซื้อซองมากที่สุดคือช่องประเภททั่วไป SD และช่องข่าว
http://www.manager.co.th/CBiZReview/ViewNews.aspx?NewsID=9560000114782
1.บริษัท วอยซ์ ทีวี จำกัด ซึ่งเข้ามาซื้อ 2 ซองได้แก่ ช่องข่าว และซองประเภททั่วไป (วาไรตี้)ความคมชัดมาตรฐาน (SD)
2.บริษัท ไทย บรอดคาสติ้ง จำกัด (เครือ บริษัท เวิร์คพ้อยท์ จำกัด (มหาชน) ซื้อ 2 ซองคือ ช่องประเภททั่วไป SD และซองประเภททั่วไป (วาไรตี้) ความคมชัดสูง (HD)
3.บริษัท สปริงส์นิวส์ เทเลวิชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
4.บริษัท ไทยทีวี จำกัด (เครือนิตยสารทีวีพูล) ซื้อ 3 ซองคือ ช่องเด็ก ,ช่องข่าว และประเภททั่วไป SD
5.บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ซื้อ 3 ซอง ได้แก่ ช่องเด็ก, ซองประเภททั่วไป SD และซื้อซองประเภททั่วไป HD
6.บริษัท บางกอกมีเดีย แอนด์ บรอดคาสติ้ง จำกัด(กลุ่มปราสาททองโอสถ : บางกอกแอร์เวย์) ซื้อ 2 ซองคือ ช่องประเภททั่วไป SD และประเภททั่วไป HD
7.บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด กลุ่มบริษัท จัสมิน จำกัด(มหาชน)ซื้อซองช่องประเภททั่วไป SD
8.บริษัท โมโน เจนเนอเรชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
9.บริษัท โมโน ทีวี จำกัด ซื้อซองช่องประเภททั่วไป HD
10.บริษัท เนชั่น คิดส์ จำกัด ซื้อซองช่องเด็ก
11.บริษัท เอ็นบีซี เน๊กซ์ วิชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
12.บริษัท แบงคอก บิสสิเนส บรอดแคสติ้ง จำกัด ซื้อซองช่องประเภททั่วไป HD
13.บริษัท ไอ-สปอร์ต มีเดีย จำกัด (สยามกีฬา) ซื้อซองช่องข่าว
14.บริษัท 3เอ.มาร์เก๊ตติ้ง จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
ขณะที่บรรยายกาศการจำหน่ายซองประมูลทีวีดิจิตอลในช่วงบ่าย มีบริษัท ดีเอ็น บรอดคาสท์ จำกัด บริษัทในเครือหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ เข้ามาซื้อซองในช่องข่าวซึ่งเป็นบริษัทที่
15 และรายสุดท้ายในวันที่ 2 คือ
บริษัท ทัช ทีวี จำกัด เข้ามาซื้อซองในช่องเด็ก รวมบริษัทที่มาขอซื้อซองประมูลวันที่ 2 รวม 16 ราย 23 ชอง แบ่งเป็นช่องเด็ก 4 ราย ช่องข่าว 8 ราย ช่อง SD 7 รายและช่อง HD 4 ราย
มีบริษัท ดีเอ็น บรอดคาสท์ จำกัด บริษัทในเครือหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ เข้ามาซื้อซองในช่องข่าว
_____________________________________
ขายซองประมูล 'ทีวีดิจิตอล' คึก! 2วันเอกชนแห่ซื้อกว่า17ราย
สรุปสองวันเปิดขายเอกสารการประมูลทีวีดิจิตอล เอกชนยักษ์ใหญ่ในอุตสาหกรรมทีวีแห่ซื้อซองแล้วกว่า 17 ราย เผยส่วนใหญ่ซื้อซองมากกว่า 1 ประเภท อ้างเพราะ กสทช.ให้ข้อมูลไม่ชัดเจน จึงกลัวพลาดหากซื้อเพียงซองเดียว...
เมื่อวันที่ 10 ก.ย. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า บรรยากาศการซื้อเอกสารประมูลดิจิตอลทีวีที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในวันที่สองเป็นไปอย่างคึกคัก เพียงครึ่งวันมีผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโทรทัศน์มาซื้อเอกสารนับ 10 ราย ยอดรวมของการซื้อเอกสารส่วนของช่องเด็ก มีบริษัทเอกชนซื้อไปแล้ว 5 ราย ได้แก่ บริษัท โรสมีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ , บริษัท บีอีซี มัลติมีเดีย ในเครือเดียวกับไทยทีวีสีช่อง 3 , ทีวีพูล , อสมท และเนชั่นมัลติมีเดีย
ส่วนช่องข่าว มีผู้สนใจซื้อซองมากถึง 8 ราย แม้ว่า กสทช.จะเปิดให้ประมูลเพียง 7 ช่อง โดยกลุ่มที่ซื้อซองไปแล้วมีโพสต์ทีวี , บีอีซีมัลติมีเดีย , วอยซ์ทีวี , สปริงคอร์ปอเรชั่น , ทีวีพูล , เนชั่นมัลติมีเดีย , สยามกีฬา และ 3A มาร์เก็ตติ้ง
ด้านช่องรายการวาไรตี้ประเภท SD ผู้ประกอบการสนใจมากที่สุดซื้อเอกสารไปแล้ว 11 รายจากที่ กสทช.จะให้ใบอนุญาต 7 ช่อง มีทั้งบริษัท บีบีทีวีแซทเทลวิชั่น ในเครือช่อง7 , ทัชทีวี , บริษัทในเครือจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ , บีอีซีมัลติมีเดีย , วอยซ์ทีวี , ทีวีพูล , อสมท. , เนชั่นมัลติมีเดีย , โมโนกรุ๊ป , บางกอกมีเดียของนักธุรกิจชื่อดังนายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ และไทยบรอดคาสติ้งในเครือเวิร์คพอยท์
สำหรับช่องรายการประเภทไฮเดฟฟิเนชั่น หรือ HD มีจำนวนผู้สนใจซื้อเอกสารเท่ากับที่ กสทช.จะเปิดประมูลคือ 7 ช่องรายการ ได้แก่ บริษัทกรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ หรือ ช่อง7 , บีอีซีมัลติมีเดียบริษัทในเครือช่อง3 , จีเอ็มเอ็ม เอชดี ดิจิตัล , อสมท. , โมโนกรุ๊ป , บางกอกมีเดีย และบริษัทในเครือเวิร์คพอยท์
นายอดิศักดิ์ ลิมปรุ่งพัฒนกิจ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เนชั่นบรอดแคสติ้ง เปิดเผยว่า สาเหตุที่ต้องซื้อเอกสารหลายช่องเพราะเกรงว่า หากเลือกเฉพาะช่องใดช่องหนึ่งอาจพลาดไม่ได้เป็นเจ้าของสถานีโทรทัศน์ดิจิตอล เนื่องจาก กสทช.ไม่ได้ให้ข้อมูลที่ชัดเจนทั้งเรื่องของค่าเช่าโครงข่าย กำหนดการประมูลที่แน่นอนว่าจะประมูลช่องใดก่อน ทำให้ประเมินการแข่งขันยาก
นายชลากรณ์ ปัญญาโฉม ผอ.ฝ่ายสร้างสรรค์การตลาด บริษัท เวิร์คพอยท์ เอนเตอร์เทนเม้น จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า สาเหตุที่ต้องซื้อหลายซอง เพื่อกันไว้ เนื่องจากต้องใช้เวลาอีกนานนับเดือนกว่าจะทราบว่าค่าเช่าโครงข่ายอยู่ที่เท่าไร และ กสทช.จะกำหนดกฎมัสแครี่ หรือ รายการที่ต้องนำมาออกอย่างไรบ้างและที่สำคัญคือ ลำดับการประมูลเพราะยังไม่มีใครทราบว่าจะประมูลช่องรายการใดก่อนหลัง
"ท้ายที่สุด เราคงต้องเลือกแค่ 1 หรือ 2 แต่ตอนนี้ซื้อไว้ก่อนจะได้ไม่พลาด เชื่อว่าทุกเจ้าต้องซื้อเผื่อไว้ เพราะ กสทช.ยังไม่บอกข้อมูลอะไรเลยแม้จะเป็นการเพิ่มต้นทุนแต่ทุกรายก็ต้องยอม" นายชลากรณ์ กล่าว
ทั้งนี้ยังเหลือเวลาอีก 1 วันสำหรับการซื้อซองประมูลทีีวีดิจิตอล แต่ยักษ์ใหญ่ในวงการสื่อและวงการบันเทิงอีกหลายรายที่ยังไม่เดินทางมาซื้อ เช่น ทรูส์วิชั่น เดลินิวส์ และอาร์เอส.
โดย: ไทยรัฐออนไลน์
http://m.thairath.co.th/content/tech/369180
___________________________________________
เอกชนตบเท้า ซื้อซองประมูลทีวีดิจิตอล 2 วันรวม 23 ราย
เอกชนเข้าคิวซื้อซองประมูลทีวีดิจิตอลวันที่ 2 (11 ก.ย.) เพิ่มอีก 16 บริษัท 23 ซอง รวม 2 วันกสทช.ขายซองไปแล้ว 34 ซอง ระบุช่องข่าว และทั่วไป SD แห่ซื้อซองมากสุด
บรรยากาศการเปิดจำหน่ายเอกสารการประมูลทีวีดิจิตอลจำนวน 24 ช่องซึ่งนับเป็นวันที่ 2 ของการเปิดจำหน่ายซองประมูล ณ.สำนักงาน กสทช.ตลอดวันนี้ (11 ก.ย.56) มีผู้ประกอบการทยอยเดินทางเข้าซื้อซองเอกสารเป็นรายแรกตั้งแต่เวลา 09.30 น. คือ 1.บริษัท วอยซ์ ทีวี จำกัด ซึ่งเข้ามาซื้อ 2 ซองได้แก่ ช่องข่าว และซองประเภททั่วไป (วาไรตี้)ความคมชัดมาตรฐาน (SD)
2.บริษัท ไทย บรอดคาสติ้ง จำกัด (เครือ บริษัท เวิร์คพ้อยท์ จำกัด (มหาชน) ซื้อ 2 ซองคือ ช่องประเภททั่วไป SD และซองประเภททั่วไป (วาไรตี้) ความคมชัดสูง (HD) 3.บริษัท สปริงส์นิวส์ เทเลวิชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว 4.บริษัท ไทยทีวี จำกัด (เครือนิตยสารทีวีพูล) ซื้อ 3 ซองคือ ช่องเด็ก ,ช่องข่าว และประเภททั่วไป SD 5.บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ซื้อ 3 ซอง ได้แก่ ช่องเด็ก, ซองประเภททั่วไป SD และซื้อซองประเภททั่วไป HD 6.บริษัท บางกอกมีเดีย แอนด์ บรอดคาสติ้ง จำกัด(กลุ่มปราสาททองโอสถ : บางกอกแอร์เวย์) ซื้อ 2 ซองคือ ช่องประเภททั่วไป SD และประเภททั่วไป HD
7.บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด กลุ่มบริษัท จัสมิน จำกัด(มหาชน)ซื้อซองช่องประเภททั่วไป SD 8.บริษัท โมโน เจนเนอเรชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว 9.บริษัท โมโน ทีวี จำกัด ซื้อซองช่องประเภททั่วไป HD 10.บริษัท เนชั่น คิดส์ จำกัด ซื้อซองช่องเด็ก 11.บริษัท เอ็นบีซี เน๊กซ์ วิชั่น จำกัด ซื้อซองช่องข่าว 12.บริษัท แบงคอก บิสสิเนส บรอดแคสติ้ง จำกัด ซื้อซองช่องประเภททั่วไป HD 13.บริษัท ไอ-สปอร์ต มีเดีย จำกัด (สยามกีฬา) ซื้อซองช่องข่าว 14.บริษัท 3เอ.มาร์เก๊ตติ้ง จำกัด ซื้อซองช่องข่าว
ขณะที่บรรยายกาศการจำหน่ายซองประมูลทีวีดิจิตอลในช่วงบ่าย มีบริษัท ดีเอ็น บรอดคาสท์ จำกัด บริษัทในเครือหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ เข้ามาซื้อซองในช่องข่าวซึ่งเป็นบริษัทที่ 15 และรายสุดท้ายในวันที่ 2 คือบริษัท ทัช ทีวี จำกัด เข้ามาซื้อซองในช่องเด็ก รวมบริษัทที่มาขอซื้อซองประมูลวันที่ 2 รวม 16 ราย 23 ชอง แบ่งเป็นช่องเด็ก 4 ราย ช่องข่าว 8 ราย ช่อง SD 7 รายและช่อง HD 4 ราย
อย่างไรก็ดีรวม 2 วัน (10-11 ก.ย.) ที่เปิดขายซองเอกสารการประมูลทีวีดิจิตอลจำนวน 24 ช่องมีผู้ประกอบการที่เข้าซื้อซองรวม 23 ราย 34 ซอง โดยหมวดที่มีผู้ประกอบการเข้ามาซื้อซองมากที่สุดคือช่องประเภททั่วไป SD และช่องข่าว
http://www.manager.co.th/CBiZReview/ViewNews.aspx?NewsID=9560000114782
ไม่มีความคิดเห็น: