15 พฤศจิกายน 2556 กสทช.นที แจงจัดสรรคลื่นความถี่แบบใช้-ไม่ใช้คลื่น ( ไม่ใช้คลื่น คือกิจการใช้คลื่นความถี่ที่ส่งผ่านโครงข่ายที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ในรูปแบบต่างๆ)(ใช้ ใช้ความถี่เฉพาะที่รับ)
ประเด็นหลัก
ส่วนความแตกต่างระหว่างกิจการที่จำเป็นต้องใช้คลื่นความถี่ และที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ มีความแตกต่างเฉพาะสิทธิในคลื่นความถี่ คือ กิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ เป็นกิจการที่ไม่จำเป็นต้องขอรับอนุญาตคลื่นความถี่จากองค์กรกำกับดูแลเพื่อใช้ประกอบกิจการ เราอาจจะมองได้ว่ากิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ ก็คือ กิจการใช้คลื่นความถี่ที่ส่งผ่านโครงข่ายที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ในรูปแบบต่างๆ และกิจการใช้คลื่นความถี่ ก็คือ กิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ที่ได้รับสิทธิเพิ่มเติมให้สามารถส่งสัญญาณผ่านคลื่นความถี่ที่ได้รับการจัดสรร กิจการทั้งสองประเภทจึงมีความแตกต่างที่การได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่ และขอบเขตเพิ่มเติมจากการสามารถใช้คลื่นความถี่
______________________________________
ประธาน กสท.ทวีตแจง จัดสรรคลื่นความถี่แบบใช้-ไม่ใช้คลื่น
ประธาน กสท. ทวีตแจงรายละเอียดการจัดสรรคลื่นความถี่ในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ทั้งแบบใช้คลื่นและไมใช้คลื่น ขณะที่ทีวีดิจิตอลเป็นกิจการใช้คลื่นความถี่จำเป็นต้องขอรับใบอนุญาต...
เมื่อวันที่ 15 พ.ย. 2556 พ.อ.นที ศุกลรัตน์ ประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) โพสต์ข้อความผ่านทวิตเตอร์ส่วนตัว (DrNateeDigital) ว่า ได้ออกแบบระบบใบอนุญาตการประกอบกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ โดยใช้แนวความคิดของการให้บริการเป็นสำคัญ ซึ่งโครงสร้างที่สำคัญ คือ การอนุญาตบริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ และการอนุญาตบริการโครงข่ายสำหรับกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ เมื่อมองในมุมของการประกอบกิจการแล้ว Broadcasting และ Spectrum Rights ถูกกำหนดให้เป็นของผู้รับใบอนุญาตบริการ ในขณะที่ Operating Right เป็นส่วนที่กำหนดไว้ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตบริการโครงข่าย เพื่อสนับสนุนให้มีการใช้โครงข่ายร่วมกัน และกฎหมายกำหนดให้เคเบิลทีวี ทีวีดาวเทียม ไอพีทีวี ฯลฯ เป็นกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ ในขณะที่ทีวีดิจิตอลเป็นกิจการใช้คลื่นความถี่
ส่วนความแตกต่างระหว่างกิจการที่จำเป็นต้องใช้คลื่นความถี่ และที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ มีความแตกต่างเฉพาะสิทธิในคลื่นความถี่ คือ กิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ เป็นกิจการที่ไม่จำเป็นต้องขอรับอนุญาตคลื่นความถี่จากองค์กรกำกับดูแลเพื่อใช้ประกอบกิจการ เราอาจจะมองได้ว่ากิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ ก็คือ กิจการใช้คลื่นความถี่ที่ส่งผ่านโครงข่ายที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ในรูปแบบต่างๆ และกิจการใช้คลื่นความถี่ ก็คือ กิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ที่ได้รับสิทธิเพิ่มเติมให้สามารถส่งสัญญาณผ่านคลื่นความถี่ที่ได้รับการจัดสรร กิจการทั้งสองประเภทจึงมีความแตกต่างที่การได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่ และขอบเขตเพิ่มเติมจากการสามารถใช้คลื่นความถี่.
โดย: ไทยรัฐออนไลน์
http://m.thairath.co.th/content/tech/383029
__________________________________________________
'นที' ทวีตแจงจัดสรรคลื่นความถี่แบบใช้คลื่น-ไม่ใช้คลื่น
พ.อ.นที ศุกลรัตน์ ประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) โพสต์ข้อความผ่านทวิตเตอร์ส่วนตัว (DrNateeDigital) ระบุว่า ได้ออกแบบระบบใบอนุญาตการประกอบกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ โดยใช้แนวความคิดของการให้บริการเป็นสำคัญ ซึ่งโครงสร้างที่สำคัญ คือ การอนุญาตบริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ และการอนุญาตบริการโครงข่ายสำหรับกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ เมื่อมองในมุมของการประกอบกิจการแล้ว Broadcasting และ Spectrum Rights ถูกกำหนดให้เป็นของผู้รับใบอนุญาตบริการ ในขณะที่ Operating Right เป็นส่วนที่กำหนดไว้ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตบริการโครงข่าย เพื่อสนับสนุนให้มีการใช้โครงข่ายร่วมกัน และกฎหมายกำหนดให้เคเบิลทีวี ทีวีดาวเทียม ไอพีทีวี ฯลฯ เป็นกิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ ในขณะที่ทีวีดิจิตอลเป็นกิจการใช้คลื่นความถี่
ส่วนความแตกต่างระหว่างกิจการที่จำเป็นต้องใช้คลื่นความถี่ และที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ มีความแตกต่างเฉพาะสิทธิในคลื่นความถี่ คือ กิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ เป็นกิจการที่ไม่จำเป็นต้องขอรับอนุญาตคลื่นความถี่จากองค์กรกำกับดูแลเพื่อใช้ประกอบกิจการ เราอาจจะมองได้ว่ากิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ ก็คือ กิจการใช้คลื่นความถี่ที่ส่งผ่านโครงข่ายที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ในรูปแบบต่างๆ และกิจการใช้คลื่นความถี่ ก็คือ กิจการไม่ใช้คลื่นความถี่ที่ได้รับสิทธิเพิ่มเติมให้สามารถส่งสัญญาณผ่านคลื่นความถี่ที่ได้รับการจัดสรร กิจการทั้งสองประเภทจึงมีความแตกต่างที่การได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่ และขอบเขตเพิ่มเติมจากการสามารถใช้คลื่นความถี่
http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=206998:2013-11-15-07-36-51&catid=176:2009-06-25-09-26-02&Itemid=524
ไม่มีความคิดเห็น: