Header Ads

Screen-Shot-2561-02-24-at-11.53.29-PM.png
Breaking News
recent

27 พฤศจิกายน 2556 กสทช.นที ชี้ต้องการให้องค์สื่อทั้ง11รายรวมกันดูแลกันเอง เหตุกสทช. ไม่ต้องการเข้าไปกำกับดูแลมากจนเกินไป


ประเด็นหลัก



วันนี้(27พ.ย.)ที่ห้องวิภาวดี บอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลลาดพร้าว สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) จัดงานสัมมนาทางวิชาการเพื่อส่งเสริมการกำกับดูแลกันเองในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์  

พ.อ.ดร.นที ศุกลรัตน์ รองประธานกสทช.และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์(กสท.)เปิดเผยว่า กสทช.ต้องการให้ผู้ประกอบการเอกชนและองค์กรวิชาชีพสื่อ  กำกับดูแลกันเอง โดยไม่ต้องให้หน่วยงานเข้าไปกำกับดูแล เพื่อให้มีการนำเสนอเนื้อหา ข่าวสารได้อย่างสิทธิเสรีภาพเต็มที่   ซึ่งต้องหาจุดสมดุลทั้งผู้ประกอบการและองค์กรวิชาชีพสื่อส่งเสริมให้เกิดการยอมรับซึ่งกันและกัน

"กสทช. ไม่ต้องการเข้าไปกำกับดูแลมากจนเกินไป อยากให้มีการกำกับดูแลกันเอง ดังนั้นการให้ผู้ประกอบการและองค์กรวิชาชีพสื่อหาเส้นจุดแบ่งร่วมกัน ซึ่งทั้ง 2 ฝ่ายต้องแสดงบาทบาท ยอมรับซึ่งกันและกันเพื่อนำไปสู่กระบวนการสร้างกรอบการดูแลตนเอง โดยกสทช.หวังจะเข้าไปกำกับดูแลให้น้อยที่สุด แต่เมื่อสุดท้ายอาจจะกำกับแบบแยกประเภทเนื่องจากอุตสาหกรรมสื่อมีหลายประเภท" พ.อ.ดร.นที
______________________________________



?กสทช.ให้องค์กรวิชาชีพสื่อกำกับดูแลกันเอง?
กสทช.จัดเสวนากำกับดูแลกันเองของสื่อโทรทัศน์ -วิทยุ สร้างการยอมรับนำเสนอเนื้อหา ด้าน11 องค์กรวิชาชีพ จับมือประกาศเจตนารมณ์ สร้างมาตรฐานเดียวกัน


กสทช.จัดเสวนากำกับดูแลกันเองของสื่อโทรทัศน์ -วิทยุ สร้างการยอมรับนำเสนอเนื้อหา ด้าน11 องค์กรวิชาชีพ จับมือประกาศเจตนารมณ์ สร้างมาตรฐานเดียวกัน

วันนี้(27พ.ย.)ที่ห้องวิภาวดี บอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลลาดพร้าว สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) จัดงานสัมมนาทางวิชาการเพื่อส่งเสริมการกำกับดูแลกันเองในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์

พ.อ.ดร.นที ศุกลรัตน์ รองประธานกสทช.และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์(กสท.)เปิดเผยว่า กสทช.ต้องการให้ผู้ประกอบการเอกชนและองค์กรวิชาชีพสื่อ กำกับดูแลกันเอง โดยไม่ต้องให้หน่วยงานเข้าไปกำกับดูแล เพื่อให้มีการนำเสนอเนื้อหา ข่าวสารได้อย่างสิทธิเสรีภาพเต็มที่ ซึ่งต้องหาจุดสมดุลทั้งผู้ประกอบการและองค์กรวิชาชีพสื่อส่งเสริมให้เกิดการยอมรับซึ่งกันและกัน

"กสทช. ไม่ต้องการเข้าไปกำกับดูแลมากจนเกินไป อยากให้มีการกำกับดูแลกันเอง ดังนั้นการให้ผู้ประกอบการและองค์กรวิชาชีพสื่อหาเส้นจุดแบ่งร่วมกัน ซึ่งทั้ง 2 ฝ่ายต้องแสดงบาทบาท ยอมรับซึ่งกันและกันเพื่อนำไปสู่กระบวนการสร้างกรอบการดูแลตนเอง โดยกสทช.หวังจะเข้าไปกำกับดูแลให้น้อยที่สุด แต่เมื่อสุดท้ายอาจจะกำกับแบบแยกประเภทเนื่องจากอุตสาหกรรมสื่อมีหลายประเภท" พ.อ.ดร.นที

ในขณะเดียวกันองค์กรวิชาชีพ 11 องค์กรได้แก่ 1.สภาวิชาชีพกิจการการเผยแพร่ภาพและการกระจายเสียง(ประเทศไทย) 2.สมาคมโทรทัศน์ดาวเทียม(ประเทศไทย) 3. สมาคมสภาองค์กรวิชาชีพข่าววิทยุโทรทัศน์ภาคประชาชน 4. สมาคมโฆษณาแห่งประเทศ 5. สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย 6. สภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย 7. สมาคมสหพันธ์วิทยุชุมชนแห่งชาติ 8. สมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย 9. สมาคมสื่อสารมวลชนสัมพันธ์จักรชัยเพื่อความมั่นคง 10.สมาคมผู้ประกอบการวิชาชีพวิทยุท้องถิ่นไทย และ11. สมาคมสภาผู้ประกอบวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ไทย ได้ประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันขององค์กรวิชาชีพในการยกระดับการกำกับดูแลตนเองในการนำเสนอข่าวสาร การแสดงความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างกลไกร่วมกันเพื่อให้ปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน

กสทช.จัดเสวนากำกับดูแลกันเองของสื่อโทรทัศน์ -วิทยุ  สร้างการยอมรับนำเสนอเนื้อหา ด้าน11 องค์กรวิชาชีพ จับมือประกาศเจตนารมณ์ สร้างมาตรฐานเดียวกัน

วันนี้(27พ.ย.)ที่ห้องวิภาวดี บอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลลาดพร้าว สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) จัดงานสัมมนาทางวิชาการเพื่อส่งเสริมการกำกับดูแลกันเองในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์  

พ.อ.ดร.นที ศุกลรัตน์ รองประธานกสทช.และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์(กสท.)เปิดเผยว่า กสทช.ต้องการให้ผู้ประกอบการเอกชนและองค์กรวิชาชีพสื่อ  กำกับดูแลกันเอง โดยไม่ต้องให้หน่วยงานเข้าไปกำกับดูแล เพื่อให้มีการนำเสนอเนื้อหา ข่าวสารได้อย่างสิทธิเสรีภาพเต็มที่   ซึ่งต้องหาจุดสมดุลทั้งผู้ประกอบการและองค์กรวิชาชีพสื่อส่งเสริมให้เกิดการยอมรับซึ่งกันและกัน

"กสทช. ไม่ต้องการเข้าไปกำกับดูแลมากจนเกินไป อยากให้มีการกำกับดูแลกันเอง ดังนั้นการให้ผู้ประกอบการและองค์กรวิชาชีพสื่อหาเส้นจุดแบ่งร่วมกัน ซึ่งทั้ง 2 ฝ่ายต้องแสดงบาทบาท ยอมรับซึ่งกันและกันเพื่อนำไปสู่กระบวนการสร้างกรอบการดูแลตนเอง โดยกสทช.หวังจะเข้าไปกำกับดูแลให้น้อยที่สุด แต่เมื่อสุดท้ายอาจจะกำกับแบบแยกประเภทเนื่องจากอุตสาหกรรมสื่อมีหลายประเภท" พ.อ.ดร.นที

ในขณะเดียวกันองค์กรวิชาชีพ 11 องค์กรได้แก่ 1.สภาวิชาชีพกิจการการเผยแพร่ภาพและการกระจายเสียง(ประเทศไทย) 2.สมาคมโทรทัศน์ดาวเทียม(ประเทศไทย) 3. สมาคมสภาองค์กรวิชาชีพข่าววิทยุโทรทัศน์ภาคประชาชน 4. สมาคมโฆษณาแห่งประเทศ 5. สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย 6. สภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย 7. สมาคมสหพันธ์วิทยุชุมชนแห่งชาติ 8. สมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย 9. สมาคมสื่อสารมวลชนสัมพันธ์จักรชัยเพื่อความมั่นคง 10.สมาคมผู้ประกอบการวิชาชีพวิทยุท้องถิ่นไทย และ11. สมาคมสภาผู้ประกอบวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ไทย  ได้ประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันขององค์กรวิชาชีพในการยกระดับการกำกับดูแลตนเองในการนำเสนอข่าวสาร การแสดงความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างกลไกร่วมกันเพื่อให้ปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน


http://www.dailynews.co.th/Content.do?contentId=198019

ไม่มีความคิดเห็น:

So Magawn ( รวบรวบประวัติศาสตร์โทรคมนาคมและการสือสารไทย ). ขับเคลื่อนโดย Blogger.