21 กันยายน 2559 กสทช. ได้เคยมอบหมายให้สำนักงานอัยการสูงสุดฟ้องเป็นคดีปกครอง เรียกให้ บจ. TRUEMOVE นำส่งเงินรายได้จากการให้บริการภายใต้ประกาศเยียวยา ช่วงที่ 1 (วันที่ 16 ก.ย.2556 - 17 ก.ค. 2557) จำนวน 1,069.98 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยจากการผิดนัดชำระหนี้ แต่ตุลาการเจ้าของสำนวนเห็นว่า ข้อกฎหมายตามประกาศมาตรการเยียวยาไม่มีความชัดเจนว่า
ประเด็นหลัก
มีรายงานแจ้งว่า แนวทางดำเนินการในการเรียกเก็บเงินนำส่งรายได้จากผู้ให้บริการในช่วงประกาศมาตรการเยียวยา นั้น สืบเนื่องจากสำนักงาน กสทช. ได้เคยมอบหมายให้สำนักงานอัยการสูงสุดฟ้องเป็นคดีปกครอง เรียกให้ บจ. ทรู มูฟ นำส่งเงินรายได้จากการให้บริการภายใต้ประกาศเยียวยา ช่วงที่ 1 (วันที่ 16 ก.ย.2556 - 17 ก.ค. 2557) จำนวน 1,069.98 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยจากการผิดนัดชำระหนี้ แต่ตุลาการเจ้าของสำนวนเห็นว่า ข้อกฎหมายตามประกาศมาตรการเยียวยาไม่มีความชัดเจนว่า สำนักงาน กสทช. ซึ่งจะเป็นผู้ฟ้องคดี เป็นผู้มีอำนาจเรียกให้ ทรู มูฟ นำส่งรายได้หรือไม่ ซึ่งหากไม่ใช่ ศาลปกครองกลางก็อาจจะมีคำสั่งไม่รับฟ้อง ด้วยเหตุนี้ สำนักงาน กสทช. จึงเสนอเรื่องเข้าที่ประชุม กทค. ครั้งที่ 20/2559 พิจารณา เพื่อแก้ไขคำฟ้องให้ กทค. เข้าเป็นผู้ฟ้องคดีร่วมกับสำนักงาน กสทช. ในคดีดังกล่าวด้วย โดยสำนักงาน กสทช. ให้ข้อมูลเพิ่มเติมในที่ประชุมว่า คดีดังกล่าวมีอายุความ 1 ปี และกำลังจะหมดอายุความลงในวันที่ 18 ก.ย. 2559 นี้
________________________________________
มีรายงานแจ้งว่า แนวทางดำเนินการในการเรียกเก็บเงินนำส่งรายได้จากผู้ให้บริการในช่วงประกาศมาตรการเยียวยา นั้น สืบเนื่องจากสำนักงาน กสทช. ได้เคยมอบหมายให้สำนักงานอัยการสูงสุดฟ้องเป็นคดีปกครอง เรียกให้ บจ. ทรู มูฟ นำส่งเงินรายได้จากการให้บริการภายใต้ประกาศเยียวยา ช่วงที่ 1 (วันที่ 16 ก.ย.2556 - 17 ก.ค. 2557) จำนวน 1,069.98 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยจากการผิดนัดชำระหนี้ แต่ตุลาการเจ้าของสำนวนเห็นว่า ข้อกฎหมายตามประกาศมาตรการเยียวยาไม่มีความชัดเจนว่า สำนักงาน กสทช. ซึ่งจะเป็นผู้ฟ้องคดี เป็นผู้มีอำนาจเรียกให้ ทรู มูฟ นำส่งรายได้หรือไม่ ซึ่งหากไม่ใช่ ศาลปกครองกลางก็อาจจะมีคำสั่งไม่รับฟ้อง ด้วยเหตุนี้ สำนักงาน กสทช. จึงเสนอเรื่องเข้าที่ประชุม กทค. ครั้งที่ 20/2559 พิจารณา เพื่อแก้ไขคำฟ้องให้ กทค. เข้าเป็นผู้ฟ้องคดีร่วมกับสำนักงาน กสทช. ในคดีดังกล่าวด้วย โดยสำนักงาน กสทช. ให้ข้อมูลเพิ่มเติมในที่ประชุมว่า คดีดังกล่าวมีอายุความ 1 ปี และกำลังจะหมดอายุความลงในวันที่ 18 ก.ย. 2559 นี้
________________________________________
พันเอกเศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 13 ก.ย. 2559 ที่ประชุมกทค.มีมติมอบหมายให้สำนักงาน กสทช. เป็นผู้รับมอบอำนาจ กรณีแนวทางการดำเนินการกรณีการให้ บริษัท ทรู มูฟ จำกัด นำส่งเงินรายได้จากการให้บริการในช่วงระยะเวลาคุ้มครอง ตามประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรการคุ้มครองผู้ใช้บริการเป็นการชั่วคราวในกรณีสิ้นสุดการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 และบริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด หรือดีพีซี (ประกาศมาตรการเยียวยา) และผลการพิจารณาตรวจสอบเงินนำส่งรายได้แผ่นดินจากการให้บริการในระยะเวลาคุ้มครองผู้ใช้บริการบนคลื่นความถี่ 1800 MHz ทั้งนี้จะนำเสนอเข้าที่ประชุม กสทช. ในวันที่ 14 ก.ย. พิจารณาเห็นชอบต่อไป
มีรายงานแจ้งว่า แนวทางดำเนินการในการเรียกเก็บเงินนำส่งรายได้จากผู้ให้บริการในช่วงประกาศมาตรการเยียวยา นั้น สืบเนื่องจากสำนักงาน กสทช. ได้เคยมอบหมายให้สำนักงานอัยการสูงสุดฟ้องเป็นคดีปกครอง เรียกให้ บจ. ทรู มูฟ นำส่งเงินรายได้จากการให้บริการภายใต้ประกาศเยียวยา ช่วงที่ 1 (วันที่ 16 ก.ย.2556 - 17 ก.ค. 2557) จำนวน 1,069.98 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยจากการผิดนัดชำระหนี้ แต่ตุลาการเจ้าของสำนวนเห็นว่า ข้อกฎหมายตามประกาศมาตรการเยียวยาไม่มีความชัดเจนว่า สำนักงาน กสทช. ซึ่งจะเป็นผู้ฟ้องคดี เป็นผู้มีอำนาจเรียกให้ ทรู มูฟ นำส่งรายได้หรือไม่ ซึ่งหากไม่ใช่ ศาลปกครองกลางก็อาจจะมีคำสั่งไม่รับฟ้อง ด้วยเหตุนี้ สำนักงาน กสทช. จึงเสนอเรื่องเข้าที่ประชุม กทค. ครั้งที่ 20/2559 พิจารณา เพื่อแก้ไขคำฟ้องให้ กทค. เข้าเป็นผู้ฟ้องคดีร่วมกับสำนักงาน กสทช. ในคดีดังกล่าวด้วย โดยสำนักงาน กสทช. ให้ข้อมูลเพิ่มเติมในที่ประชุมว่า คดีดังกล่าวมีอายุความ 1 ปี และกำลังจะหมดอายุความลงในวันที่ 18 ก.ย. 2559 นี้
http://www.naewna.com/business/235172
ไม่มีความคิดเห็น: