30 กรกฎาคม 2554 (บทความส่วนตัว) AIS ทำทุกทาง ทุกกลยุทธ เพื่อให้บริการ 3G
(บทความส่วนตัว) AIS ทำทุกทาง ทุกกลยุทธ เพื่อให้บริการ 3G
AIS ทำทุกทาง ทุกกลยุทธ เพื่อให้บริการ 3G
สัปดาห์ที่ผ่านมา วงการโทรคมนาคมและการสือสารไทยมีความร้อนแรงเกิดขึ้นเ เมื่อ AIS ตัดสินสู่ ส่งคลื่นเดิม ย่าย 900 มาแบ่ง เพื่อให้ บริการ 3G ในคลื่น HSPA ในวลาปัจจุบัน( 30 กรกฎาคม 54 ) โดยปกติ 17.5 เมกะเฮิรตซ์ แบ่งไปทำ 3G 12.5 เมกะเฮิรตซ์ เหลือ บริการ 2G 5 เมกะเฮิรตซ์ เฟสแรกจะทยอยติดตั้งอุปกรณ์ และให้บริการได้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน และ 6 จังหวัดเศรษฐกิจ เช่น เชียงใหม่ โคราช ขอนแก่น ชลบุรี หัวหิน และภูเก็ต เฟสต่อไปจะทยอยติดตั้งครบพื้นที่บริการ กทม. ปริมณฑล และอีก 2 จังหวัดชั้นนอก ใช้ งบลงทุนครั้งนี้ 2,500 ล้านบาท ข้อดีของ AIS คือ การได้รับอนุมัติให้บริการแบบเชิงพาณิชย์ก่อนหน้านี้ เพราะสามารถอัพเกรดได้ทันทีตามสัญญาสัมปทาน ด้วยสถานีฐาน 1,884 แห่ง ไม่เหมือน DTAC TRUEMOVE ครับ
แต่ในความเป็นจริงจำนวนคลื่นหลักของ AIS ในการให้บริการ ย่าย900 ไม่เพียงพอต่อการให้บริการต่อ มหาศาลการโรมมิ่งคือการอนุญาตให้เข้าใช้สัญญาณของเครือข่ายใน AIS คือ GSM 1800 เช่น AIS 900 โรมมิ่งกับ GSM1800 คือคุณใช้ซิมคลื่น 900 อยู่ แต่เครื่องสามารถจับสัญญาณ 1800 มาใช้งานได้ เป็นต้น โดยเป็นในหลายพื้นที่ในการต้องโดนให้บริการในลักษณะนี้ เช่น สะพานใหม่ หลักสี่ เมืองทองธานี สยาย มาบุญครอง โดยยังไม่รวมพื้นที่ในหลายจังหวัด
โดย พี่คออ่อน ใน ห้อง MBK ได้อธิบาย คุณสมบัติคลื่นง่ายๆ คือ การยกตัวผย่างเปรียบเทียบ
900-1000 ก็ 100 ช่องความถี่ เทียบกับ 1800-1900=1000 ช่องความถี่ 900 ใช้โทรได้ 100 คนในเวลาเดียวกัน (คลื่อน900เดินทางได้ไกลกว่าโอกาสเจอความถี่เดียวกันง่ายกว่า) ตอน2G แก้ไขโดยการซื้อ GSM 1800 เอาคลื่อนมาใช้โรมมิ่ง
GSM 1800 ใช้โทรได้ 1000 คนในเวลาเดียวกัน (คลื่อน1800เดินทางได้ไกล้กว่าโอกาสเจอความถี่เดียวกันน้อยกว่ากว่า )
ปัญหา นี้ส่งผมทางอ้อม คือ ใครที่ถูกให้ใช้คลื่น GSM 1800 เนื่องด้วยความหวังดี ทำให้ผู้ต้องการใช้ INTERNET ไม่สามารถเล่นได้ วีธีแก้ต้องไป เลือก GSM 900 ในเครื่อง ซึ่งทำให้เกิดความวุ่ยวายต่อผู้ใช้บริการซึ่งเกิดการหวังดีโดยต้องยึดบริการ ทางเสียให้ลูกค้าดีที่สุดก่อน
จึงเกิดแนวคิดในการให้บริการ โอนในลักษณะระบายการจราจรที่มากให้ลดลง เพราะ แนวโน้มคนให้บริการด้าน DATA มากขึ้น โดยการขอความร่วมมือกับ TOT เปิดให้ลูกค้า AIS สามารถ Roaming TOT3G โดยเริ่มตั้งแต่ การแถลงวิสัยทัศน์ AIS VISION 2010 คุณวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ผู้บริหาร บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส เปิดเผยถึงความร่วมมือระหว่าง TOT และ AIS ในการให้ลูกค้า AIS โรมมิ่งใช้สัญญาณ TOT3G ได้ ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2011 เป็นต้นไป โดยลูกค้า AIS มีตัวเครื่องที่รองรับ 3G คลื่นความถี่ 2100 MHz สามารถโรมมิ่งได้ทันที
แต่เกิดหน้าแตก!!! โดยทาง TOT มีการประชุม 29 มกราคม 2010 กรรมการบอร์ดมีความเห็น สมควรจะให้ MVNO สามารถตั้งไข่ให้ได้เสียก่อน โดยการปล่อยให้ดำเนินงานตามแผนการตลาด 3Gที่วางไว้อย่างน้อย4- 6 เดือน หากผ่านไปครบ 6 เดือนซึ่งครบกำหนดที่ทีโอทีต้องประเมินผลการดำเนินงานตามสัญญา หากMVNO ไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายแผนธุรกิจที่ยื่นให้ TOT และไม่สามารถ สร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้บริการได้ TOT อาจพิจารณาถอดจากการเป็น MVNO ทีโอที 3G แล้วพิจารณาให้AIS หรือรายอื่นๆเข้ามาดำเนินธุรกิจแทน
ทำให้เกิดความเสียหาย ต่อ AIS เกิดการขู่!!!!!และออกมาระบายปัญหา โดยการนำของ นายวิเชียร เมฆตระการ แต่หากการขอบริการโรมมิ่งกับเอไอเอสในครั้งนั้นเกิดข้อติดขัด หรือมีการยกเลิกให้บริการโรมมิ่งลูกค้าจำนวน 500,000 เลขหมายก็จะมีปัญหาในการใช้งานนอกพื้นที่ครอบคลุม 3G ของทีโอทีเช่นเดียวกับการขอบริการโรมมิ่งของเอไอเอสกับทีโอทีในครั้งนี้หาก เกิดข้อติดขัด ก็จะทำให้เกิดผลเสียต่อลูกค้าที่ไม่สามารถได้รับบริการที่ดี รวมถึงการดำเนินงานของ MVNOก็จะได้รับผลกระทบ เพราะไม่สามารถดำเนินการขายซิมได้อย่างเต็มที่
หลังจากนั้น การ ขู่ก็เป็นจริง เมื่อ วันที่ 1 เมษายน 2553 ตัดการให้บริการลูกค้า TOT จริง ปล่อยลูกค้า TOT ต่างจังหวัด เดือนร้อน 10000 ราย แหล่งข่าวจากบริษัท ทีโอที เปิดเผยว่า วันนี้ (1 เม.ย.) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส ได้ยุติการเชื่อมต่อโครงข่าย (โรมมิ่ง) ในต่างจังหวัด โดยเปิดให้โรมมิ่งเพียง 60,000 เลขหมาย เป็นวันแรก จากเดิมตกลงให้โรมมิ่ง 500,000 เลขหมาย ส่งผลให้ลูกค้า 3G TOT กว่า 10,000 เลขหมาย ได้รับความเดือดร้อนไม่สามารถใช้งานติดต่อสื่อสารเมื่อออกนอกพื้นที่โครง ข่าย 3G TOT ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี สมุทรปราการ นนทบุรี ได้เลย
นายวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้าคณะผู้บริหาร เอไอเอส กล่าวว่า หากทีโอทีต้องการจะเจรจากับเอไอเอส ในพรุ่งนี้ (2 เม.ย.) คงจะไม่สามารถเข้าไปเจราจาด้วยตัวเอง แต่จะส่งตัวแทนเข้าร่วมเจรจา ส่วนกรณีที่ ทีโอที ขอให้ เอไอเอส เปิดสัญญาโรมมิ่งให้ตามปกติก่อนนั้น เอไอเอสสามารถเปิดให้โรมมิ่งเพิ่มอีก 10,000 เลขหมาย จากเดิม 70,000 เลขหมาย
“ทีโอทีมาระบุทีหลัง ว่า จะขอพิจารณาว่าจะให้เอไอเอสโรมมิ่งใช้โครงข่าย 3G TOT ได้กี่เลขหมาย ด้วยการอ้างว่าปริมาณการใช้งานโครงข่าย (คาปาซิตี้) ไม่เพียงพอให้เอไอเอสโรมมิ่งตามจำนวนที่ตกลง ส่งผลให้ลูกค้าที่ต้องการใช้งานดาต้าจำนวนมากต้องหันกลับมาใช้งานบนโครงข่าย ของเอไอเอสส่งผลปริมาณการใช้งานเพิ่มขึ้น จนเอไอเอส ต้องพิจารณาตัดโรมมิ่งกับทีโอทีลดลงเหลือ 60,000 เลขหมายเอไอเอสไม่ยากเดินไปจนถึงมาตราการสุดท้าย คือ การส่งหนังสือแจ้งไปยังทีโอทีภายใน 7 วันว่าจะยกเลิกการโรมมิ่งทั้งหมด เพราะเอไอเอสเชื่อว่ายังสามารถเจรจาหาข้อสรุปกันได้ ในอนาคตหากเอไอเอสลงทุนเครือข่ายเพิ่มและมีปริมาณโครงข่ายมากพอก็อาจจะเปิด ให้ 3G TOT โรมมิ่งเอไอเอสได้ครบ 500,000 เลขหมายก็ได้”
หลังจากนั้น เกิดการ แฉเบื้องหลัง AIS ขอใช้เครือข่ายร่วมด้านข้อมูล TOT 3G ล่มเพราะ เอกชนลักไก่มัดมือชก ประกาศเปิดบริการก่อนค่อยส่งหนังสือขออนุญาต ด้วยเงื่อนไขสุดโหด โรมมิ่งฟรี 1 แสนเลขหมาย 2 เดือน แถมกำหนดค่าธรรมเนียมตามใจชอบ ชี้ชัดยังไม่มีข้อสรุปเรื่องผลประโยชน์
แหล่งข่าวในวงการโทรคมนาคมกล่าวว่า ข้อเท็จจริงในเรื่องดาต้าโรมมิ่งของเอไอเอสก็คือความพยายามลักไก่มัดมือชก คิดเอาเองว่าทีโอทีตกลงและเอไอเอสสามารถเปิดขายซิมให้บริการดาต้าโรมมิ่ง 3G ของทีโอทีในวันที่ 1 ก.พ.
เรื่องของเรื่องเกิดขึ้นเมื่อเอไอเอสทำหนังสือวันที่ 22 ธ.ค.2552 อ้างถึงหนังสือของทีโอทีลงวันที่ 30 พ.ย.2552 ที่ส่งมายังเอไอเอสว่าทีโอทีได้สร้างโครงข่าย 3Gในประเทศไทย หากเอไอเอสมีความประสงค์จะใช้บริการโรมมิ่งกับทีโอที ขอให้แจ้งให้ทีโอทีทราบเพื่อหารือในรายละเอียดร่วมกันต่อไป โดยเอไอเอสแจ้งทีโอทีกลับไปว่ามีความประสงค์ที่จะขอทดลองใช้บริการโรมมิ่ง (Data,Voice,SMS,MMS และ USSD) ของทีโอที (3G) ในการนี้เอไอเอสจะขอประสานงานกับทีมเทคนิคของทีโอทีเพื่อดำเนินการทดสอบระบบ ระหว่างกันต่อไป
แต่ระหว่างการทดสอบดังกล่าว ซึ่งฝ่ายทีโอทียืนยันว่าไม่ได้มีการให้คำมั่นใดๆทั้งสิ้นว่าจะเปิดบริการดา ต้าโรมมิ่งหรือบริการรูปแบบอื่นๆได้เมื่อไหร่
ปรากฏว่าในงานแถลงข่าววิชันปี 2010 ของเอไอเอส ในวันที่ 19 ม.ค.2553 ผู้บริหารเอไอเอสกล่าวต่อหน้าพาร์ตเนอร์ คู่ค้าและสื่อมวลชนจำนวนมากว่าจะเปิดบริการดาต้า โรมมิ่ง 3G กับทีโอที ด้วยการขายซิมการ์ดให้ลูกค้าใหม่ระบบโพสต์เพดในวันที่ 1 ก.พ.ที่ผ่านมา ทั้งๆความเป็นจริง เอไอเอสได้ส่งหนังสือเลขที่ BED.BRD 0053/2553 ลงวันที่ 20 ม.ค.หลังแถลงข่าว 1 วัน เพื่อขอเปิดให้บริการ TOT 3G กับผู้ใช้บริการของเอไอเอส
โดยในหนังสือระบุถึงแนวทางการดำเนินการที่เอไอเอสต้องการ 3 เรื่องได้แก่ 1.เอไอเอสจะเป็นผู้เก็บเงินค่าบริการของTOT 3G แทนทีโอที ซึ่งเอไอเอสจะเป็นเพียงผู้ทำหน้าที่เรียกเก็บเงินจากผู้ใช้บริการของเอไอเอส ที่มีการใช้บริการ TOT 3G ในอัตราค่าบริการเท่ากับอัตราค่าบริการที่ทีโอทีเรียกเก็บจากผู้ใช้บริการ โดยจะรวมอยู่ในใบแจ้งค่าบริการของเอไอเอส (Single Bill) หรือหักชำระจากยอดเงินของผู้ใช้บริการระบบพรีเพด และเอไอเอสจะ นำส่งเงินค่าบริการ โดยใช้หลักการ Cash Basis ส่วนค่าดำเนินการดังกล่าวทีโอทีและเอไอเอส จะเจรจากันต่อไปซึ่งเงินค่าดำเนินการนี้มิได้เป็นรายได้ที่เกิดจากการให้ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แต่อย่างใด จึงไม่ต้องนำส่งส่วนแบ่งรายได้ให้ทีโอทีอีก
2.การทดลองเปิดให้ริการ TOT 3G จำนวน 500,000 เลขหมายแบ่งป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรก เป็นการทดลองเปิดให้บริการแบบไม่ใช่เชิงพาณิชย์ (Free Trial) โดยเอไอเอสจะทดลองเปิดให้บริการแก่ลูกค้าโพสต์เพด ก่อนจำนวน 100,000 เลขหมาย เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถทดลองใช้ได้ฟรีตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ.-31 มี.ค.53 และทีโอทีจะไม่เรียกเก็บค่าใช้บริการดังกล่าว
ช่วงที่ 2 เป็นการเปิดให้บริการ TOT 3G เชิงพาณิชย์ (คิดค่าบริการ) โดยเอไอเอสจะทยอยเปิดให้บริการเป็นกลุ่มๆละจำนวน 100,000 เลขหมาย ตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย. 53 เป็นต้นไปโดยใช้อัตราค่าบริการของทีโอที มา Bundle กับบริการของเอไอเอสจัดทำเป็นแพคเกจเพื่อเสนอเป็นทางเลือกให้ผู้ใช้บริการ ของเอไอเอสต่อไป
3.การใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) เอไอเอสสามารถใช้เครือข่ายร่วม3Gของทีโอทีได้ โดยทีโอทีไม่เรียกเก็บค่าใช้โครงข่ายร่วม หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดกับเอไอเอส เนื่องจากเอไอเอสได้ดำเนินการส่งเสริมการขายบริการ TOT 3G โดยมิได้ค่าตอบแทนหรือส่วนแบ่งรายได้แต่อย่างใด นอกเหนือจากค่าดำเนินการในการที่เอไอเอสเป็นผู้เก็บเงินแทนให้ทีโอที
'ลองคิดดูประกาศว่าจะให้บริการ 1 ก.พ. โดยยังไม่ได้มีการตกลงรายละเอียดเรื่องใดๆกับทีโอทีเลย แถมยังส่งหนังสือมาหลังจากแถลงข่าวไปแล้ว คงเห็นทีโอทีเป็นลูกไก่ในกำมือ พอบอร์ดทีโอทีมีมติให้หารือกทช.ก่อน ก็โกรธประกาศตัดโรมมิ่งด้านเสียงกับลูกค้า TOT 3G เรียกว่าเอาความเดือดร้อนคนใช้บริการมาต่อรองเพื่อประโยชน์บริษัท'
แหล่งข่าวกล่าวว่า ด้วยความที่เอไอเอส เป็นบริษัทที่มีสายป่านยาวจากการมีผู้ถือหุ้นเป็นต่างชาติ ทำให้กลายเป็นผู้กำหนดกลไกการแข่งขันในตลาดโดยปริยาย รวมทั้งสามารถดำเนินการอะไรก็ได้ตามใจชอบ เช่นการประกาศ จะโรมมิ่งกับทีโอที โดยขอทดลองใช้ฟรีเป็นเวลา 2 เดือน และกำหนดอัตราค่าโรมมิ่งเอง โดยไม่มีการปรึกษาหารือกับเจ้าของโครงข่าย และเมื่อทีโอทีขอเวลาพิจารณาข้อเสนอโรมมิ่งที่เอไอเอสส่งมา กลับถูกตอบโต้ด้วยการประกาศหยุดให้ทีโอทีโรมมิ่งใช้โครงข่ายด้านเสียงในต่าง จังหวัดส่งผลให้ผู้ใช้บริการของทีโอทีได้รับความเดือนร้อน
'มีอีกประเด็นที่ถูกมองข้ามไปเรื่องโรมมิ่ง ในความเข้าใจควรโรมมิ่งบนเทคโนโลยีพื้นฐานเดียวกันหรือไม่ เหมือนนำโทรศัพท์มือถือไปต่างประเทศก็ไม่ต้องเปลี่ยนซิม ใช้เบอร์เดิมโรมมิ่งกับประเทศนั้นๆ กรณีเอไอเอสของดาต้าโรมมิ่ง TOT 3G ก็ต้องเปลี่ยนซิม ขายซิมการ์ดใหม่ และไม่รู้ว่าจะต้องใช้เบอร์ทีโอทีหรือเบอร์เอไอเอส เพราะหากต้องใช้เบอร์ทีโอทีด้วยก็ไม่ต่างอะไรกับ MVNO' ( ข้อมูลการแฉ!! ASTV ผู้จัดการ )
หลังจากนั้น TOT ต้องยอมแต่ชัวคราว++
นายวรุธ สุวกร กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีโอที กล่าวว่า ทีโอทีและบริษัท แอดวานซ์ อินโฟ เซอร์วิส (เอไอเอส) ได้ข้อสรุปในหลักการเกี่ยวกับการโรมมิ่งโครงข่ายระหว่าง 2G ของเอไอเอสกับ TOT 3G เรียบร้อยแล้ว โดยสรุปว่าทีโอที จะให้เอไอเอสโรมมิ่งการรับส่งข้อมูล(ดาต้า) มายังระบบ TOT 3Gจำนวน 5 หมื่นเลขหมายในขณะที่เอไอเอสจะเปิดให้ทีโอทีโรมมิ่งวอยซ์จำนวน 2แสนเลขหมาย จากเดิมเอไอเอสจำกัดการให้โรมมิ่งของทีโอทีจำนวน 5หมื่นเลขหมาย เนื่องจากทีโอทีไม่สามารถหาข้อสรุปปริมาณการโรมมิ่งดาต้าที่ชัดเจนให้เอไอ เอสได้
สำหรับค่าบริการในการโรมมิ่งที่จะคิดกับเอไอเอสเป็นอัตราเดียว กับที่ทีโอทีคิด MVNO ทั้ง 5 รายที่ประมาณเมกกะบิตละ 10 สตางค์ อย่างไรก็ตามการที่ทีโอทีเปิดให้เอไอเอสโรมมิ่งดาต้ากับ TOT 3G นั้นเนื่องจากต้องการแก้ปัญหาความสามารถในการรองรับการใช้งานที่ไม่เพียงพอ ของโครงข่ายทั้งสองฝ่ายเพราะที่ผ่านมาลูกค้าเอไอเอสมีการใช้งานดาต้ามากขึ้น จึงมีความต้องการโรมมิ่ง TOT 3G เพื่อรองรับการใช้งานดังกล่าว ในขณะที่ทีโอทีไม่มีโครงข่ายนอกพื้นที่กทม.และปริมณฑล เพื่อให้บริการลูกค้าเช่นกัน
หลังจากนั้นก็ เกิดการประมูล แต่ก็ล่ม และในขณะที่ TOT ได้ประมูลโครงข่ายแล้ว AIS ก็เป็นรองในการเจรจาทันที่ ส่งผลในต้องใช้แผนสำรองในการพัฒนาคโครงข่ายตัวเอง การอัพเกรดคลื่น 900 ให้เป็น 3G บนคลื่นความถี่ (HSPA) สามารถดำเนินการได้ และไม่จำเป็นต้องผ่านคณะกรรมการมาตรา 22 พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินกิจการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือ (พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ) เนื่องจากคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์ สามารถอัพเกรดได้ทันทีตามสัญญาสัมปทาน
แต่ยังมีความพยายามในการ โรมมิ่ง กับ TOT โดยการของใน ประมาณ 8 มิถุนายน 2554 TOT และ AIS ได้มีการเซ็นสัญญาอย่างเป็นทางการแบบลับ ๆ กันไปแล้วหลังคณะกรรมการบอร์ดอนุมัติอย่างเป็นทางการ ไม่เพียงเท่านี้หาก TOT จะนำความจุของโครงข่ายไปให้บริการกับผู้ให้บริการรายอื่นจะต้องแจ้งให้ เอไอเอส ทราบหรือยื่นข้อเสนอให้ เอไอเอส ก่อนเป็นอันดับแรก หาก เอไอเอส ไม่ต้องการเพิ่มเติมก็สามารถนำโครงข่ายไปให้
ผลประโยชน์คือ
ผู้ประกอบ การรายอื่นโรมมิ่งสัญญาณได้ โดยสิ่งที่ AIS ต้องการคือ ให้ ลูกค้า AIS ใช้บริการ 3G ของ TOT3G เริ่มต้น 60000 คน ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล
โดยสิ่งที่ TOT ต้องการคือ ให้ ลูกค้า TOT ใช้บริการของ AIS โดยด้านเสียง 200000 คน และ ดาต้า 10000 คน
สิ่ง ที่ AIS ต้องจ่าย TOT โดยอัตราค่าเชื่อมต่อ 0.85 บาทต่อMB และ ทางทางเสียง นาทีขั้นต่ำ 0.60 บาท ต่อนาที ส่วน ผู้ที่เป็นคนชาติชาติที่มีการโรมมิ่ง จะให้ขั้นต่ำนาทีละ 1.10 บาทต่อนาที และ 30 เปอร์เซ็นต์ ของ รายได้การโรมมิ่ง TOT3G
จะเริ่มมีการโรมมิ่งในวันที่ 7 ต.ค. โดยเอไอเอสจะได้สิทธิ์ใช้โครงข่าย 3 จี ทีโอทีจำนวน 60,000 เลขหมาย และสูงสุดที่ 1 ล้านเลขหมาย.
สิ่ง ที่ผมลำดับมานั้น เป็นการลำดับเหตุกาณ์ ที่ AIS และ TOT จากการที่อ่านข่าวเป็นประจำ แจ่สิ่งที่น่าสนใจคือ การพยายามของ AIS ในการให้บริการที่ต้องสู้และแลกในระบบที่ยังไม่มี กสทช. ที่ทำคนหวัง !! บางลำดับ อ่านแล้ว ดูเศร้า.. แต่บางลำดับก็ลงตัว...คงต้องติดตามกันต่อไปครับ
AIS ทำทุกทาง ทุกกลยุทธ เพื่อให้บริการ 3G
สัปดาห์ที่ผ่านมา วงการโทรคมนาคมและการสือสารไทยมีความร้อนแรงเกิดขึ้นเ เมื่อ AIS ตัดสินสู่ ส่งคลื่นเดิม ย่าย 900 มาแบ่ง เพื่อให้ บริการ 3G ในคลื่น HSPA ในวลาปัจจุบัน( 30 กรกฎาคม 54 ) โดยปกติ 17.5 เมกะเฮิรตซ์ แบ่งไปทำ 3G 12.5 เมกะเฮิรตซ์ เหลือ บริการ 2G 5 เมกะเฮิรตซ์ เฟสแรกจะทยอยติดตั้งอุปกรณ์ และให้บริการได้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน และ 6 จังหวัดเศรษฐกิจ เช่น เชียงใหม่ โคราช ขอนแก่น ชลบุรี หัวหิน และภูเก็ต เฟสต่อไปจะทยอยติดตั้งครบพื้นที่บริการ กทม. ปริมณฑล และอีก 2 จังหวัดชั้นนอก ใช้ งบลงทุนครั้งนี้ 2,500 ล้านบาท ข้อดีของ AIS คือ การได้รับอนุมัติให้บริการแบบเชิงพาณิชย์ก่อนหน้านี้ เพราะสามารถอัพเกรดได้ทันทีตามสัญญาสัมปทาน ด้วยสถานีฐาน 1,884 แห่ง ไม่เหมือน DTAC TRUEMOVE ครับ
แต่ในความเป็นจริงจำนวนคลื่นหลักของ AIS ในการให้บริการ ย่าย900 ไม่เพียงพอต่อการให้บริการต่อ มหาศาลการโรมมิ่งคือการอนุญาตให้เข้าใช้สัญญาณของเครือข่ายใน AIS คือ GSM 1800 เช่น AIS 900 โรมมิ่งกับ GSM1800 คือคุณใช้ซิมคลื่น 900 อยู่ แต่เครื่องสามารถจับสัญญาณ 1800 มาใช้งานได้ เป็นต้น โดยเป็นในหลายพื้นที่ในการต้องโดนให้บริการในลักษณะนี้ เช่น สะพานใหม่ หลักสี่ เมืองทองธานี สยาย มาบุญครอง โดยยังไม่รวมพื้นที่ในหลายจังหวัด
โดย พี่คออ่อน ใน ห้อง MBK ได้อธิบาย คุณสมบัติคลื่นง่ายๆ คือ การยกตัวผย่างเปรียบเทียบ
900-1000 ก็ 100 ช่องความถี่ เทียบกับ 1800-1900=1000 ช่องความถี่ 900 ใช้โทรได้ 100 คนในเวลาเดียวกัน (คลื่อน900เดินทางได้ไกลกว่าโอกาสเจอความถี่เดียวกันง่ายกว่า) ตอน2G แก้ไขโดยการซื้อ GSM 1800 เอาคลื่อนมาใช้โรมมิ่ง
GSM 1800 ใช้โทรได้ 1000 คนในเวลาเดียวกัน (คลื่อน1800เดินทางได้ไกล้กว่าโอกาสเจอความถี่เดียวกันน้อยกว่ากว่า )
ปัญหา นี้ส่งผมทางอ้อม คือ ใครที่ถูกให้ใช้คลื่น GSM 1800 เนื่องด้วยความหวังดี ทำให้ผู้ต้องการใช้ INTERNET ไม่สามารถเล่นได้ วีธีแก้ต้องไป เลือก GSM 900 ในเครื่อง ซึ่งทำให้เกิดความวุ่ยวายต่อผู้ใช้บริการซึ่งเกิดการหวังดีโดยต้องยึดบริการ ทางเสียให้ลูกค้าดีที่สุดก่อน
จึงเกิดแนวคิดในการให้บริการ โอนในลักษณะระบายการจราจรที่มากให้ลดลง เพราะ แนวโน้มคนให้บริการด้าน DATA มากขึ้น โดยการขอความร่วมมือกับ TOT เปิดให้ลูกค้า AIS สามารถ Roaming TOT3G โดยเริ่มตั้งแต่ การแถลงวิสัยทัศน์ AIS VISION 2010 คุณวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ผู้บริหาร บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส เปิดเผยถึงความร่วมมือระหว่าง TOT และ AIS ในการให้ลูกค้า AIS โรมมิ่งใช้สัญญาณ TOT3G ได้ ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2011 เป็นต้นไป โดยลูกค้า AIS มีตัวเครื่องที่รองรับ 3G คลื่นความถี่ 2100 MHz สามารถโรมมิ่งได้ทันที
แต่เกิดหน้าแตก!!! โดยทาง TOT มีการประชุม 29 มกราคม 2010 กรรมการบอร์ดมีความเห็น สมควรจะให้ MVNO สามารถตั้งไข่ให้ได้เสียก่อน โดยการปล่อยให้ดำเนินงานตามแผนการตลาด 3Gที่วางไว้อย่างน้อย4- 6 เดือน หากผ่านไปครบ 6 เดือนซึ่งครบกำหนดที่ทีโอทีต้องประเมินผลการดำเนินงานตามสัญญา หากMVNO ไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายแผนธุรกิจที่ยื่นให้ TOT และไม่สามารถ สร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้บริการได้ TOT อาจพิจารณาถอดจากการเป็น MVNO ทีโอที 3G แล้วพิจารณาให้AIS หรือรายอื่นๆเข้ามาดำเนินธุรกิจแทน
ทำให้เกิดความเสียหาย ต่อ AIS เกิดการขู่!!!!!และออกมาระบายปัญหา โดยการนำของ นายวิเชียร เมฆตระการ แต่หากการขอบริการโรมมิ่งกับเอไอเอสในครั้งนั้นเกิดข้อติดขัด หรือมีการยกเลิกให้บริการโรมมิ่งลูกค้าจำนวน 500,000 เลขหมายก็จะมีปัญหาในการใช้งานนอกพื้นที่ครอบคลุม 3G ของทีโอทีเช่นเดียวกับการขอบริการโรมมิ่งของเอไอเอสกับทีโอทีในครั้งนี้หาก เกิดข้อติดขัด ก็จะทำให้เกิดผลเสียต่อลูกค้าที่ไม่สามารถได้รับบริการที่ดี รวมถึงการดำเนินงานของ MVNOก็จะได้รับผลกระทบ เพราะไม่สามารถดำเนินการขายซิมได้อย่างเต็มที่
หลังจากนั้น การ ขู่ก็เป็นจริง เมื่อ วันที่ 1 เมษายน 2553 ตัดการให้บริการลูกค้า TOT จริง ปล่อยลูกค้า TOT ต่างจังหวัด เดือนร้อน 10000 ราย แหล่งข่าวจากบริษัท ทีโอที เปิดเผยว่า วันนี้ (1 เม.ย.) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส ได้ยุติการเชื่อมต่อโครงข่าย (โรมมิ่ง) ในต่างจังหวัด โดยเปิดให้โรมมิ่งเพียง 60,000 เลขหมาย เป็นวันแรก จากเดิมตกลงให้โรมมิ่ง 500,000 เลขหมาย ส่งผลให้ลูกค้า 3G TOT กว่า 10,000 เลขหมาย ได้รับความเดือดร้อนไม่สามารถใช้งานติดต่อสื่อสารเมื่อออกนอกพื้นที่โครง ข่าย 3G TOT ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี สมุทรปราการ นนทบุรี ได้เลย
นายวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้าคณะผู้บริหาร เอไอเอส กล่าวว่า หากทีโอทีต้องการจะเจรจากับเอไอเอส ในพรุ่งนี้ (2 เม.ย.) คงจะไม่สามารถเข้าไปเจราจาด้วยตัวเอง แต่จะส่งตัวแทนเข้าร่วมเจรจา ส่วนกรณีที่ ทีโอที ขอให้ เอไอเอส เปิดสัญญาโรมมิ่งให้ตามปกติก่อนนั้น เอไอเอสสามารถเปิดให้โรมมิ่งเพิ่มอีก 10,000 เลขหมาย จากเดิม 70,000 เลขหมาย
“ทีโอทีมาระบุทีหลัง ว่า จะขอพิจารณาว่าจะให้เอไอเอสโรมมิ่งใช้โครงข่าย 3G TOT ได้กี่เลขหมาย ด้วยการอ้างว่าปริมาณการใช้งานโครงข่าย (คาปาซิตี้) ไม่เพียงพอให้เอไอเอสโรมมิ่งตามจำนวนที่ตกลง ส่งผลให้ลูกค้าที่ต้องการใช้งานดาต้าจำนวนมากต้องหันกลับมาใช้งานบนโครงข่าย ของเอไอเอสส่งผลปริมาณการใช้งานเพิ่มขึ้น จนเอไอเอส ต้องพิจารณาตัดโรมมิ่งกับทีโอทีลดลงเหลือ 60,000 เลขหมายเอไอเอสไม่ยากเดินไปจนถึงมาตราการสุดท้าย คือ การส่งหนังสือแจ้งไปยังทีโอทีภายใน 7 วันว่าจะยกเลิกการโรมมิ่งทั้งหมด เพราะเอไอเอสเชื่อว่ายังสามารถเจรจาหาข้อสรุปกันได้ ในอนาคตหากเอไอเอสลงทุนเครือข่ายเพิ่มและมีปริมาณโครงข่ายมากพอก็อาจจะเปิด ให้ 3G TOT โรมมิ่งเอไอเอสได้ครบ 500,000 เลขหมายก็ได้”
หลังจากนั้น เกิดการ แฉเบื้องหลัง AIS ขอใช้เครือข่ายร่วมด้านข้อมูล TOT 3G ล่มเพราะ เอกชนลักไก่มัดมือชก ประกาศเปิดบริการก่อนค่อยส่งหนังสือขออนุญาต ด้วยเงื่อนไขสุดโหด โรมมิ่งฟรี 1 แสนเลขหมาย 2 เดือน แถมกำหนดค่าธรรมเนียมตามใจชอบ ชี้ชัดยังไม่มีข้อสรุปเรื่องผลประโยชน์
แหล่งข่าวในวงการโทรคมนาคมกล่าวว่า ข้อเท็จจริงในเรื่องดาต้าโรมมิ่งของเอไอเอสก็คือความพยายามลักไก่มัดมือชก คิดเอาเองว่าทีโอทีตกลงและเอไอเอสสามารถเปิดขายซิมให้บริการดาต้าโรมมิ่ง 3G ของทีโอทีในวันที่ 1 ก.พ.
เรื่องของเรื่องเกิดขึ้นเมื่อเอไอเอสทำหนังสือวันที่ 22 ธ.ค.2552 อ้างถึงหนังสือของทีโอทีลงวันที่ 30 พ.ย.2552 ที่ส่งมายังเอไอเอสว่าทีโอทีได้สร้างโครงข่าย 3Gในประเทศไทย หากเอไอเอสมีความประสงค์จะใช้บริการโรมมิ่งกับทีโอที ขอให้แจ้งให้ทีโอทีทราบเพื่อหารือในรายละเอียดร่วมกันต่อไป โดยเอไอเอสแจ้งทีโอทีกลับไปว่ามีความประสงค์ที่จะขอทดลองใช้บริการโรมมิ่ง (Data,Voice,SMS,MMS และ USSD) ของทีโอที (3G) ในการนี้เอไอเอสจะขอประสานงานกับทีมเทคนิคของทีโอทีเพื่อดำเนินการทดสอบระบบ ระหว่างกันต่อไป
แต่ระหว่างการทดสอบดังกล่าว ซึ่งฝ่ายทีโอทียืนยันว่าไม่ได้มีการให้คำมั่นใดๆทั้งสิ้นว่าจะเปิดบริการดา ต้าโรมมิ่งหรือบริการรูปแบบอื่นๆได้เมื่อไหร่
ปรากฏว่าในงานแถลงข่าววิชันปี 2010 ของเอไอเอส ในวันที่ 19 ม.ค.2553 ผู้บริหารเอไอเอสกล่าวต่อหน้าพาร์ตเนอร์ คู่ค้าและสื่อมวลชนจำนวนมากว่าจะเปิดบริการดาต้า โรมมิ่ง 3G กับทีโอที ด้วยการขายซิมการ์ดให้ลูกค้าใหม่ระบบโพสต์เพดในวันที่ 1 ก.พ.ที่ผ่านมา ทั้งๆความเป็นจริง เอไอเอสได้ส่งหนังสือเลขที่ BED.BRD 0053/2553 ลงวันที่ 20 ม.ค.หลังแถลงข่าว 1 วัน เพื่อขอเปิดให้บริการ TOT 3G กับผู้ใช้บริการของเอไอเอส
โดยในหนังสือระบุถึงแนวทางการดำเนินการที่เอไอเอสต้องการ 3 เรื่องได้แก่ 1.เอไอเอสจะเป็นผู้เก็บเงินค่าบริการของTOT 3G แทนทีโอที ซึ่งเอไอเอสจะเป็นเพียงผู้ทำหน้าที่เรียกเก็บเงินจากผู้ใช้บริการของเอไอเอส ที่มีการใช้บริการ TOT 3G ในอัตราค่าบริการเท่ากับอัตราค่าบริการที่ทีโอทีเรียกเก็บจากผู้ใช้บริการ โดยจะรวมอยู่ในใบแจ้งค่าบริการของเอไอเอส (Single Bill) หรือหักชำระจากยอดเงินของผู้ใช้บริการระบบพรีเพด และเอไอเอสจะ นำส่งเงินค่าบริการ โดยใช้หลักการ Cash Basis ส่วนค่าดำเนินการดังกล่าวทีโอทีและเอไอเอส จะเจรจากันต่อไปซึ่งเงินค่าดำเนินการนี้มิได้เป็นรายได้ที่เกิดจากการให้ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แต่อย่างใด จึงไม่ต้องนำส่งส่วนแบ่งรายได้ให้ทีโอทีอีก
2.การทดลองเปิดให้ริการ TOT 3G จำนวน 500,000 เลขหมายแบ่งป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรก เป็นการทดลองเปิดให้บริการแบบไม่ใช่เชิงพาณิชย์ (Free Trial) โดยเอไอเอสจะทดลองเปิดให้บริการแก่ลูกค้าโพสต์เพด ก่อนจำนวน 100,000 เลขหมาย เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถทดลองใช้ได้ฟรีตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ.-31 มี.ค.53 และทีโอทีจะไม่เรียกเก็บค่าใช้บริการดังกล่าว
ช่วงที่ 2 เป็นการเปิดให้บริการ TOT 3G เชิงพาณิชย์ (คิดค่าบริการ) โดยเอไอเอสจะทยอยเปิดให้บริการเป็นกลุ่มๆละจำนวน 100,000 เลขหมาย ตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย. 53 เป็นต้นไปโดยใช้อัตราค่าบริการของทีโอที มา Bundle กับบริการของเอไอเอสจัดทำเป็นแพคเกจเพื่อเสนอเป็นทางเลือกให้ผู้ใช้บริการ ของเอไอเอสต่อไป
3.การใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) เอไอเอสสามารถใช้เครือข่ายร่วม3Gของทีโอทีได้ โดยทีโอทีไม่เรียกเก็บค่าใช้โครงข่ายร่วม หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดกับเอไอเอส เนื่องจากเอไอเอสได้ดำเนินการส่งเสริมการขายบริการ TOT 3G โดยมิได้ค่าตอบแทนหรือส่วนแบ่งรายได้แต่อย่างใด นอกเหนือจากค่าดำเนินการในการที่เอไอเอสเป็นผู้เก็บเงินแทนให้ทีโอที
'ลองคิดดูประกาศว่าจะให้บริการ 1 ก.พ. โดยยังไม่ได้มีการตกลงรายละเอียดเรื่องใดๆกับทีโอทีเลย แถมยังส่งหนังสือมาหลังจากแถลงข่าวไปแล้ว คงเห็นทีโอทีเป็นลูกไก่ในกำมือ พอบอร์ดทีโอทีมีมติให้หารือกทช.ก่อน ก็โกรธประกาศตัดโรมมิ่งด้านเสียงกับลูกค้า TOT 3G เรียกว่าเอาความเดือดร้อนคนใช้บริการมาต่อรองเพื่อประโยชน์บริษัท'
แหล่งข่าวกล่าวว่า ด้วยความที่เอไอเอส เป็นบริษัทที่มีสายป่านยาวจากการมีผู้ถือหุ้นเป็นต่างชาติ ทำให้กลายเป็นผู้กำหนดกลไกการแข่งขันในตลาดโดยปริยาย รวมทั้งสามารถดำเนินการอะไรก็ได้ตามใจชอบ เช่นการประกาศ จะโรมมิ่งกับทีโอที โดยขอทดลองใช้ฟรีเป็นเวลา 2 เดือน และกำหนดอัตราค่าโรมมิ่งเอง โดยไม่มีการปรึกษาหารือกับเจ้าของโครงข่าย และเมื่อทีโอทีขอเวลาพิจารณาข้อเสนอโรมมิ่งที่เอไอเอสส่งมา กลับถูกตอบโต้ด้วยการประกาศหยุดให้ทีโอทีโรมมิ่งใช้โครงข่ายด้านเสียงในต่าง จังหวัดส่งผลให้ผู้ใช้บริการของทีโอทีได้รับความเดือนร้อน
'มีอีกประเด็นที่ถูกมองข้ามไปเรื่องโรมมิ่ง ในความเข้าใจควรโรมมิ่งบนเทคโนโลยีพื้นฐานเดียวกันหรือไม่ เหมือนนำโทรศัพท์มือถือไปต่างประเทศก็ไม่ต้องเปลี่ยนซิม ใช้เบอร์เดิมโรมมิ่งกับประเทศนั้นๆ กรณีเอไอเอสของดาต้าโรมมิ่ง TOT 3G ก็ต้องเปลี่ยนซิม ขายซิมการ์ดใหม่ และไม่รู้ว่าจะต้องใช้เบอร์ทีโอทีหรือเบอร์เอไอเอส เพราะหากต้องใช้เบอร์ทีโอทีด้วยก็ไม่ต่างอะไรกับ MVNO' ( ข้อมูลการแฉ!! ASTV ผู้จัดการ )
หลังจากนั้น TOT ต้องยอมแต่ชัวคราว++
นายวรุธ สุวกร กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีโอที กล่าวว่า ทีโอทีและบริษัท แอดวานซ์ อินโฟ เซอร์วิส (เอไอเอส) ได้ข้อสรุปในหลักการเกี่ยวกับการโรมมิ่งโครงข่ายระหว่าง 2G ของเอไอเอสกับ TOT 3G เรียบร้อยแล้ว โดยสรุปว่าทีโอที จะให้เอไอเอสโรมมิ่งการรับส่งข้อมูล(ดาต้า) มายังระบบ TOT 3Gจำนวน 5 หมื่นเลขหมายในขณะที่เอไอเอสจะเปิดให้ทีโอทีโรมมิ่งวอยซ์จำนวน 2แสนเลขหมาย จากเดิมเอไอเอสจำกัดการให้โรมมิ่งของทีโอทีจำนวน 5หมื่นเลขหมาย เนื่องจากทีโอทีไม่สามารถหาข้อสรุปปริมาณการโรมมิ่งดาต้าที่ชัดเจนให้เอไอ เอสได้
สำหรับค่าบริการในการโรมมิ่งที่จะคิดกับเอไอเอสเป็นอัตราเดียว กับที่ทีโอทีคิด MVNO ทั้ง 5 รายที่ประมาณเมกกะบิตละ 10 สตางค์ อย่างไรก็ตามการที่ทีโอทีเปิดให้เอไอเอสโรมมิ่งดาต้ากับ TOT 3G นั้นเนื่องจากต้องการแก้ปัญหาความสามารถในการรองรับการใช้งานที่ไม่เพียงพอ ของโครงข่ายทั้งสองฝ่ายเพราะที่ผ่านมาลูกค้าเอไอเอสมีการใช้งานดาต้ามากขึ้น จึงมีความต้องการโรมมิ่ง TOT 3G เพื่อรองรับการใช้งานดังกล่าว ในขณะที่ทีโอทีไม่มีโครงข่ายนอกพื้นที่กทม.และปริมณฑล เพื่อให้บริการลูกค้าเช่นกัน
หลังจากนั้นก็ เกิดการประมูล แต่ก็ล่ม และในขณะที่ TOT ได้ประมูลโครงข่ายแล้ว AIS ก็เป็นรองในการเจรจาทันที่ ส่งผลในต้องใช้แผนสำรองในการพัฒนาคโครงข่ายตัวเอง การอัพเกรดคลื่น 900 ให้เป็น 3G บนคลื่นความถี่ (HSPA) สามารถดำเนินการได้ และไม่จำเป็นต้องผ่านคณะกรรมการมาตรา 22 พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินกิจการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 หรือ (พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ) เนื่องจากคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์ สามารถอัพเกรดได้ทันทีตามสัญญาสัมปทาน
แต่ยังมีความพยายามในการ โรมมิ่ง กับ TOT โดยการของใน ประมาณ 8 มิถุนายน 2554 TOT และ AIS ได้มีการเซ็นสัญญาอย่างเป็นทางการแบบลับ ๆ กันไปแล้วหลังคณะกรรมการบอร์ดอนุมัติอย่างเป็นทางการ ไม่เพียงเท่านี้หาก TOT จะนำความจุของโครงข่ายไปให้บริการกับผู้ให้บริการรายอื่นจะต้องแจ้งให้ เอไอเอส ทราบหรือยื่นข้อเสนอให้ เอไอเอส ก่อนเป็นอันดับแรก หาก เอไอเอส ไม่ต้องการเพิ่มเติมก็สามารถนำโครงข่ายไปให้
ผลประโยชน์คือ
ผู้ประกอบ การรายอื่นโรมมิ่งสัญญาณได้ โดยสิ่งที่ AIS ต้องการคือ ให้ ลูกค้า AIS ใช้บริการ 3G ของ TOT3G เริ่มต้น 60000 คน ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล
โดยสิ่งที่ TOT ต้องการคือ ให้ ลูกค้า TOT ใช้บริการของ AIS โดยด้านเสียง 200000 คน และ ดาต้า 10000 คน
สิ่ง ที่ AIS ต้องจ่าย TOT โดยอัตราค่าเชื่อมต่อ 0.85 บาทต่อMB และ ทางทางเสียง นาทีขั้นต่ำ 0.60 บาท ต่อนาที ส่วน ผู้ที่เป็นคนชาติชาติที่มีการโรมมิ่ง จะให้ขั้นต่ำนาทีละ 1.10 บาทต่อนาที และ 30 เปอร์เซ็นต์ ของ รายได้การโรมมิ่ง TOT3G
จะเริ่มมีการโรมมิ่งในวันที่ 7 ต.ค. โดยเอไอเอสจะได้สิทธิ์ใช้โครงข่าย 3 จี ทีโอทีจำนวน 60,000 เลขหมาย และสูงสุดที่ 1 ล้านเลขหมาย.
สิ่ง ที่ผมลำดับมานั้น เป็นการลำดับเหตุกาณ์ ที่ AIS และ TOT จากการที่อ่านข่าวเป็นประจำ แจ่สิ่งที่น่าสนใจคือ การพยายามของ AIS ในการให้บริการที่ต้องสู้และแลกในระบบที่ยังไม่มี กสทช. ที่ทำคนหวัง !! บางลำดับ อ่านแล้ว ดูเศร้า.. แต่บางลำดับก็ลงตัว...คงต้องติดตามกันต่อไปครับ
ไม่มีความคิดเห็น: