09 ตุลาคม 2555 DTAC ตอบคำถาม +++ ไลเซนส์ถูกกว่าสัมปทานทำไมไม่ลด ( ลงทุนมาก แต่ PROเท่าเดิมความเร็วดีขึ้น )
DTAC ตอบคำถาม +++ ไลเซนส์ถูกกว่าสัมปทานทำไมไม่ลด ( ลงทุนมาก แต่ PROเท่าเดิมความเร็วดีขึ้น )
ประเด็นหลัก
- จะโอนลูกค้าจากสัมปทานไปไลเซนส์ใหม่
ต้อง ขออนุญาตและได้รับการยอมรับจากลูกค้าในการโอนไปโครงข่ายใหม่ ขึ้นอยู่กับรูปแบบการใช้งานของลูกค้าแต่ละกลุ่ม แต่ทั้งหมดคิดว่าจะใช้เวลาอย่างน้อย 4 ปี
- ในแง่ผู้บริโภคจะมีอะไรดีขึ้นบ้าง
ลูกค้า จะสังเกตเห็นได้ว่าเมื่อมีความถี่เพิ่มความเร็วจะเร็วขึ้น การแข่งขันจะผลักดันให้เรานำเสนอแพ็กเกจต่าง ๆ เพื่อดึงลูกค้า โอเปอเรเตอร์มีแพ็กเกจโปรโมชั่น ออกมามากมาย ปัจจุบันเราไม่สามารถใส่คาแพซิตี้เข้าไปเพิ่มในความถี่ที่มีอยู่ได้แล้ว ในแง่ค่าบริการอาจเท่าเดิมหรือต่ำลงเล็กน้อยแต่สปีดดีขึ้นแน่
- ไลเซนส์ถูกกว่าสัมปทานทำไมไม่ลด
เพราะ ต้องลงทุนเยอะมากในครั้งแรกและต้องลงทุนในทันที ต้องวางเงินตั้งแต่ยื่นใบสมัคร แต่ในที่สุดผู้บริโภคจะตัดสินเองว่า ค่าบริการควรเป็นเท่าไรบนพื้นฐานการแข่งขันที่เท่าเทียมกัน
- ยังลงทุนใน 850MHz อีกไหม
ระบบ 3G ของ 850 MHz คงหยุดเมื่อได้ 2.1GHz เพราะจะไปลงทุนใน 2.1 แทน แต่ยังขยายโครงข่าย 850 MHz ไปต่างจังหวัดเพราะเป็นคลื่นความถี่ที่ใช้งานได้ดีในต่างจังหวัด
________________________________________
3 ปี 4 หมื่น ล.เดิมพัน 3G "ดีแทค" นับถอยหลังปลดล็อกสัมปทาน
เป็น อีกรายที่ประกาศความพร้อมเต็มสูบในสนามชิงใบอนุญาตบริการโทรศัพท์มือถือ 3G บนคลื่นความถี่ 2.1GHz ซึ่งถึงที่สุดแล้วก็คงต้องมารอดูกันต่อว่า ยักษ์มือถือทั้ง 3 เจ้าใครจะได้ไลเซนส์ใหม่ไปครองด้วยต้นทุนเท่าไรกันบ้าง เพราะแข่งกันอยู่แค่ที่เห็น มีคลื่นทั้งหมด 45MHz แต่ละเจ้าถือครองได้ไม่เกิน 20MHz หมายความว่า มากที่สุดที่ทุกรายจะคว้ามาได้ จะไม่เกิน 15MHz ถ้าแข่ง 3 เจ้าก็ลงตัวเป๊ะพอดีกับคลื่นที่มี9 ต.ค.นี้ จะเข้าสู่ช่วง silent piriod หรือ "เข้าเงียบ" ห้ามไม่ให้บริษัทเปิดเผยข้อมูลที่ต้องรักษาเป็นความลับ ไม่ว่าจะมูลค่าการประมูล, ราคา, แผนธุรกิจ, จัดสร้างโครงข่าย, ข้อมูลการเงิน และอื่น ๆ จนกว่าจะมีการประกาศรายชื่อผู้ได้รับใบอนุญาต ฝ่าฝืนอาจโดนตัดสิทธิ์ประมูล ริบเงินวางประกัน และให้รับผิดชอบค่าเสียหายหรือค่าใช้จ่ายในการจัดประมูลใหม่
ก่อน ถึงช่วง "เข้าเงียบ" "ซีอีโอ" บริษัทมือถืออันดับ 2 เมืองไทย "จอน เอ็ดดี้ อับดุลลาร์" แห่งดีแทค ถือโอกาสประกาศความพร้อมในการโดดเข้าสู่เวทีชิงคลื่นใหม่ เป้าหมาย และสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อจากนี้ ดังนี้
- พร้อมเข้าประมูล
ดี แทคพร้อมเต็มที่ที่จะเข้าประมูล 3G วันที่ 16 ต.ค.นี้ สิ่งที่ต้องเตรียมความพร้อมมีหลายด้าน รวมถึงเรื่อง "คน" ซึ่งได้มีการปรับโครงสร้างองค์กรภายในเพื่อให้แน่ใจว่า พนักงานทำหน้าที่ที่ควรทำ อยู่ในแผนกที่ควรอยู่ รองรับการมาถึงของ 3G ที่สลับซับซ้อนได้ ทำอย่างไรจะช่วยเหลือลูกค้าได้ มีการเปิด Dtac Academy เพื่อช่วยเตรียมผู้นำ เตรียมพนักงานให้มีความรู้มา สนับสนุนการทำงานในองค์กร และปรับปรุงศูนย์บริการลูกค้าทั้งหมด
- เตรียมเงินลงทุนไว้แค่ไหน
3 ปี 4 หมื่นล้าน ค่าประมูลน่าจะสัก 1.5-2 หมื่นล้าน การขยายโครงข่ายให้ครอบคลุม 50% คงสักหมื่นล้านบาท ที่เหลือเป็นเงินลงทุนเพื่อให้เป็นไปตามประกาศของ กสทช. ภายใน 4 ปี
- กระแสเรื่องฮั้วประมูล
ไม่ น่าเป็นไปได้ หลังประกาศชื่อผู้เข้าประมูลเราต้องเข้าสู่ช่วง silent period ทั้งหมดคงต้องกลับมาที่ราคาคลื่น การกำหนดราคาตั้งต้นที่บล็อกละ 4,500 ล้านบาท เหมาะสมถูกต้อง การประมูลแต่ละบล็อกที่จะประมูล 9 บล็อก แต่ละรายจะได้ 3 บล็อกตามเงื่อนไขการถือครองคลื่น
การมีผู้เข้าร่วม ประมูลมากหรือน้อยต้องย้อนกลับมาดูราคาตั้งต้นของค่าคลื่น ถ้าสูงเกินอาจมีคนเข้าร่วมน้อยกว่านี้ด้วยซ้ำ หรือถ้าต่ำมากก็จะมีคนเข้าร่วมมาก
- ได้ไลเซนส์แล้วจะเริ่มให้บริการเมื่อไร มีเป้าลูกค้าเท่าไร
การ เตรียมความพร้อมสำหรับให้บริการภายใต้คลื่น 2.1GHz เราต้องจัดเตรียมตัวเองหลายอย่าง บ.ที่จะเข้าประมูลคือดีแทค เนทเวอร์ค ต้องวางแผนการซื้ออุปกรณ์ โครงข่ายต่าง ๆ น่าจะหลังก่อนไตรมาส 2 ปีหน้า ส่วนเป้าลูกค้าขึ้นอยู่กับ การขยายเครือข่ายการให้บริการครอบคลุมแค่ไหน เครื่องลูกข่ายมีที่รองรับ 2.1GHz แค่ไหน
- จะโอนลูกค้าจากสัมปทานไปไลเซนส์ใหม่
ต้อง ขออนุญาตและได้รับการยอมรับจากลูกค้าในการโอนไปโครงข่ายใหม่ ขึ้นอยู่กับรูปแบบการใช้งานของลูกค้าแต่ละกลุ่ม แต่ทั้งหมดคิดว่าจะใช้เวลาอย่างน้อย 4 ปี
- ในแง่ผู้บริโภคจะมีอะไรดีขึ้นบ้าง
ลูกค้า จะสังเกตเห็นได้ว่าเมื่อมีความถี่เพิ่มความเร็วจะเร็วขึ้น การแข่งขันจะผลักดันให้เรานำเสนอแพ็กเกจต่าง ๆ เพื่อดึงลูกค้า โอเปอเรเตอร์มีแพ็กเกจโปรโมชั่น ออกมามากมาย ปัจจุบันเราไม่สามารถใส่คาแพซิตี้เข้าไปเพิ่มในความถี่ที่มีอยู่ได้แล้ว ในแง่ค่าบริการอาจเท่าเดิมหรือต่ำลงเล็กน้อยแต่สปีดดีขึ้นแน่
- ไลเซนส์ถูกกว่าสัมปทานทำไมไม่ลด
เพราะ ต้องลงทุนเยอะมากในครั้งแรกและต้องลงทุนในทันที ต้องวางเงินตั้งแต่ยื่นใบสมัคร แต่ในที่สุดผู้บริโภคจะตัดสินเองว่า ค่าบริการควรเป็นเท่าไรบนพื้นฐานการแข่งขันที่เท่าเทียมกัน
- มีสัมปทานเหลือนานกว่าคู่แข่งได้หรือเสียเปรียบ
การ มีสัมปทานเหลืออีก 5-6 ปีทำให้มีเวลาเปลี่ยนผ่านจากสัมปทานไปสู่ระบบใบอนุญาต ทำให้รู้ว่าต้องทำอย่างไร เมื่อไร ข้อเสียคือต้องจ่ายค่าสัมปทานไปอีกระยะซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่สูง
- ยังลงทุนใน 850MHz อีกไหม
ระบบ 3G ของ 850 MHz คงหยุดเมื่อได้ 2.1GHz เพราะจะไปลงทุนใน 2.1 แทน แต่ยังขยายโครงข่าย 850 MHz ไปต่างจังหวัดเพราะเป็นคลื่นความถี่ที่ใช้งานได้ดีในต่างจังหวัด
ประชาชาติธุรกิจ
http://www.prachachat.net/news_detail.php?
newsid=1349690276&grpid=&catid=06&subcatid=0600
ประเด็นหลัก
- จะโอนลูกค้าจากสัมปทานไปไลเซนส์ใหม่
ต้อง ขออนุญาตและได้รับการยอมรับจากลูกค้าในการโอนไปโครงข่ายใหม่ ขึ้นอยู่กับรูปแบบการใช้งานของลูกค้าแต่ละกลุ่ม แต่ทั้งหมดคิดว่าจะใช้เวลาอย่างน้อย 4 ปี
- ในแง่ผู้บริโภคจะมีอะไรดีขึ้นบ้าง
ลูกค้า จะสังเกตเห็นได้ว่าเมื่อมีความถี่เพิ่มความเร็วจะเร็วขึ้น การแข่งขันจะผลักดันให้เรานำเสนอแพ็กเกจต่าง ๆ เพื่อดึงลูกค้า โอเปอเรเตอร์มีแพ็กเกจโปรโมชั่น ออกมามากมาย ปัจจุบันเราไม่สามารถใส่คาแพซิตี้เข้าไปเพิ่มในความถี่ที่มีอยู่ได้แล้ว ในแง่ค่าบริการอาจเท่าเดิมหรือต่ำลงเล็กน้อยแต่สปีดดีขึ้นแน่
- ไลเซนส์ถูกกว่าสัมปทานทำไมไม่ลด
เพราะ ต้องลงทุนเยอะมากในครั้งแรกและต้องลงทุนในทันที ต้องวางเงินตั้งแต่ยื่นใบสมัคร แต่ในที่สุดผู้บริโภคจะตัดสินเองว่า ค่าบริการควรเป็นเท่าไรบนพื้นฐานการแข่งขันที่เท่าเทียมกัน
- ยังลงทุนใน 850MHz อีกไหม
ระบบ 3G ของ 850 MHz คงหยุดเมื่อได้ 2.1GHz เพราะจะไปลงทุนใน 2.1 แทน แต่ยังขยายโครงข่าย 850 MHz ไปต่างจังหวัดเพราะเป็นคลื่นความถี่ที่ใช้งานได้ดีในต่างจังหวัด
________________________________________
3 ปี 4 หมื่น ล.เดิมพัน 3G "ดีแทค" นับถอยหลังปลดล็อกสัมปทาน
เป็น อีกรายที่ประกาศความพร้อมเต็มสูบในสนามชิงใบอนุญาตบริการโทรศัพท์มือถือ 3G บนคลื่นความถี่ 2.1GHz ซึ่งถึงที่สุดแล้วก็คงต้องมารอดูกันต่อว่า ยักษ์มือถือทั้ง 3 เจ้าใครจะได้ไลเซนส์ใหม่ไปครองด้วยต้นทุนเท่าไรกันบ้าง เพราะแข่งกันอยู่แค่ที่เห็น มีคลื่นทั้งหมด 45MHz แต่ละเจ้าถือครองได้ไม่เกิน 20MHz หมายความว่า มากที่สุดที่ทุกรายจะคว้ามาได้ จะไม่เกิน 15MHz ถ้าแข่ง 3 เจ้าก็ลงตัวเป๊ะพอดีกับคลื่นที่มี9 ต.ค.นี้ จะเข้าสู่ช่วง silent piriod หรือ "เข้าเงียบ" ห้ามไม่ให้บริษัทเปิดเผยข้อมูลที่ต้องรักษาเป็นความลับ ไม่ว่าจะมูลค่าการประมูล, ราคา, แผนธุรกิจ, จัดสร้างโครงข่าย, ข้อมูลการเงิน และอื่น ๆ จนกว่าจะมีการประกาศรายชื่อผู้ได้รับใบอนุญาต ฝ่าฝืนอาจโดนตัดสิทธิ์ประมูล ริบเงินวางประกัน และให้รับผิดชอบค่าเสียหายหรือค่าใช้จ่ายในการจัดประมูลใหม่
ก่อน ถึงช่วง "เข้าเงียบ" "ซีอีโอ" บริษัทมือถืออันดับ 2 เมืองไทย "จอน เอ็ดดี้ อับดุลลาร์" แห่งดีแทค ถือโอกาสประกาศความพร้อมในการโดดเข้าสู่เวทีชิงคลื่นใหม่ เป้าหมาย และสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อจากนี้ ดังนี้
- พร้อมเข้าประมูล
ดี แทคพร้อมเต็มที่ที่จะเข้าประมูล 3G วันที่ 16 ต.ค.นี้ สิ่งที่ต้องเตรียมความพร้อมมีหลายด้าน รวมถึงเรื่อง "คน" ซึ่งได้มีการปรับโครงสร้างองค์กรภายในเพื่อให้แน่ใจว่า พนักงานทำหน้าที่ที่ควรทำ อยู่ในแผนกที่ควรอยู่ รองรับการมาถึงของ 3G ที่สลับซับซ้อนได้ ทำอย่างไรจะช่วยเหลือลูกค้าได้ มีการเปิด Dtac Academy เพื่อช่วยเตรียมผู้นำ เตรียมพนักงานให้มีความรู้มา สนับสนุนการทำงานในองค์กร และปรับปรุงศูนย์บริการลูกค้าทั้งหมด
- เตรียมเงินลงทุนไว้แค่ไหน
3 ปี 4 หมื่นล้าน ค่าประมูลน่าจะสัก 1.5-2 หมื่นล้าน การขยายโครงข่ายให้ครอบคลุม 50% คงสักหมื่นล้านบาท ที่เหลือเป็นเงินลงทุนเพื่อให้เป็นไปตามประกาศของ กสทช. ภายใน 4 ปี
- กระแสเรื่องฮั้วประมูล
ไม่ น่าเป็นไปได้ หลังประกาศชื่อผู้เข้าประมูลเราต้องเข้าสู่ช่วง silent period ทั้งหมดคงต้องกลับมาที่ราคาคลื่น การกำหนดราคาตั้งต้นที่บล็อกละ 4,500 ล้านบาท เหมาะสมถูกต้อง การประมูลแต่ละบล็อกที่จะประมูล 9 บล็อก แต่ละรายจะได้ 3 บล็อกตามเงื่อนไขการถือครองคลื่น
การมีผู้เข้าร่วม ประมูลมากหรือน้อยต้องย้อนกลับมาดูราคาตั้งต้นของค่าคลื่น ถ้าสูงเกินอาจมีคนเข้าร่วมน้อยกว่านี้ด้วยซ้ำ หรือถ้าต่ำมากก็จะมีคนเข้าร่วมมาก
- ได้ไลเซนส์แล้วจะเริ่มให้บริการเมื่อไร มีเป้าลูกค้าเท่าไร
การ เตรียมความพร้อมสำหรับให้บริการภายใต้คลื่น 2.1GHz เราต้องจัดเตรียมตัวเองหลายอย่าง บ.ที่จะเข้าประมูลคือดีแทค เนทเวอร์ค ต้องวางแผนการซื้ออุปกรณ์ โครงข่ายต่าง ๆ น่าจะหลังก่อนไตรมาส 2 ปีหน้า ส่วนเป้าลูกค้าขึ้นอยู่กับ การขยายเครือข่ายการให้บริการครอบคลุมแค่ไหน เครื่องลูกข่ายมีที่รองรับ 2.1GHz แค่ไหน
- จะโอนลูกค้าจากสัมปทานไปไลเซนส์ใหม่
ต้อง ขออนุญาตและได้รับการยอมรับจากลูกค้าในการโอนไปโครงข่ายใหม่ ขึ้นอยู่กับรูปแบบการใช้งานของลูกค้าแต่ละกลุ่ม แต่ทั้งหมดคิดว่าจะใช้เวลาอย่างน้อย 4 ปี
- ในแง่ผู้บริโภคจะมีอะไรดีขึ้นบ้าง
ลูกค้า จะสังเกตเห็นได้ว่าเมื่อมีความถี่เพิ่มความเร็วจะเร็วขึ้น การแข่งขันจะผลักดันให้เรานำเสนอแพ็กเกจต่าง ๆ เพื่อดึงลูกค้า โอเปอเรเตอร์มีแพ็กเกจโปรโมชั่น ออกมามากมาย ปัจจุบันเราไม่สามารถใส่คาแพซิตี้เข้าไปเพิ่มในความถี่ที่มีอยู่ได้แล้ว ในแง่ค่าบริการอาจเท่าเดิมหรือต่ำลงเล็กน้อยแต่สปีดดีขึ้นแน่
- ไลเซนส์ถูกกว่าสัมปทานทำไมไม่ลด
เพราะ ต้องลงทุนเยอะมากในครั้งแรกและต้องลงทุนในทันที ต้องวางเงินตั้งแต่ยื่นใบสมัคร แต่ในที่สุดผู้บริโภคจะตัดสินเองว่า ค่าบริการควรเป็นเท่าไรบนพื้นฐานการแข่งขันที่เท่าเทียมกัน
- มีสัมปทานเหลือนานกว่าคู่แข่งได้หรือเสียเปรียบ
การ มีสัมปทานเหลืออีก 5-6 ปีทำให้มีเวลาเปลี่ยนผ่านจากสัมปทานไปสู่ระบบใบอนุญาต ทำให้รู้ว่าต้องทำอย่างไร เมื่อไร ข้อเสียคือต้องจ่ายค่าสัมปทานไปอีกระยะซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่สูง
- ยังลงทุนใน 850MHz อีกไหม
ระบบ 3G ของ 850 MHz คงหยุดเมื่อได้ 2.1GHz เพราะจะไปลงทุนใน 2.1 แทน แต่ยังขยายโครงข่าย 850 MHz ไปต่างจังหวัดเพราะเป็นคลื่นความถี่ที่ใช้งานได้ดีในต่างจังหวัด
ประชาชาติธุรกิจ
http://www.prachachat.net/news_detail.php?
newsid=1349690276&grpid=&catid=06&subcatid=0600
ไม่มีความคิดเห็น: