24 ตุลาคม 2555 ปลัดใหม่แห่ง ICT +++ เตรียมปูงบ 2.3 หมื่นล้านบาท. ทำ4G ( CAT 4G1800 TOT4G2300 )
ประเด็นหลัก
ปลัดไอซีที กล่าวต่อว่า ขณะนี้ กำลังพิจารณาว่าบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็นจำนวนมากและครอบคลุมทั่วประเทศ ดังนั้นเมื่อหมดสัมปทานน่าจะนำคลื่นความถี่ที่มีและโครงข่ายโทรคมนาคมที่ลงทุนไปแล้วมาพัฒนาเป็นแอลทีอี เชื่อมโยงกับการใช้ประโยชน์ภายใต้โครงการที่เป็นนโยบายของรัฐบาล เช่น การใช้แท็บเล็ตป.1 เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โครงการบริการแพทย์ทางไกล และโครงการไว-ไฟ ฟรีซึ่งต้องหารือกับ กสทช. เพื่อหาความชัดเจน
ปลัดไอซีที กล่าวด้วยว่า ต้องการเห็นความชัดเจนว่า กสทช. จะใช้ย่านความถี่ใดในการให้บริการแอลทีอี เพราะของแต่ละประเทศก็ใช้ย่านความถี่ที่แตกต่างกันไป ซึ่งทีโอทีและกสท ก็มีคลื่นความถี่ที่กำลังจะหมดสัมปทานคือ 1800 เมกะเฮิรตซ์ และ 2300 เมกะเฮิรตซ์ ขณะที่ คาดการณ์ว่าหากดำเนินการเรื่องแอลทีอี ต้องใช้เงินลงทุนถึง 2.3 หมื่นล้านบาท.
_____________________________________
'ไชยยันต์'เล็งคุย กสทช.คืนคลื่น-หนุนทีโอที-กสท ลุย4จี
"ไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์" ปลัดไอซีที เครื่องร้อน เล็งคุย กสทช. ดัน ทีโอที-กสท ลุย 4จี บนคลื่นความถี่ 1800-2300 เมกะเฮิรตซ์ หลังหมดสัมปทาน...
นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที กล่าวว่า หลังได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นปลัดฯ นโยบายเร่งด่วนที่จะเร่งดำเนินงาน คือ การหารือร่วมกับคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช.) เกี่ยวกับความชัดเจนในการคืนคลื่น เนื่องจากตามนโยบายสมาร์ทเน็ตเวิร์กของรัฐบาลมีแนวคิดที่จะทำแอลทีอี หรือเทคโนโลยี 4จี
ปลัดไอซีที กล่าวต่อว่า ขณะนี้ กำลังพิจารณาว่าบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็นจำนวนมากและครอบคลุมทั่วประเทศ ดังนั้นเมื่อหมดสัมปทานน่าจะนำคลื่นความถี่ที่มีและโครงข่ายโทรคมนาคมที่ลงทุนไปแล้วมาพัฒนาเป็นแอลทีอี เชื่อมโยงกับการใช้ประโยชน์ภายใต้โครงการที่เป็นนโยบายของรัฐบาล เช่น การใช้แท็บเล็ตป.1 เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โครงการบริการแพทย์ทางไกล และโครงการไว-ไฟ ฟรีซึ่งต้องหารือกับ กสทช. เพื่อหาความชัดเจน
ปลัดไอซีที กล่าวด้วยว่า ต้องการเห็นความชัดเจนว่า กสทช. จะใช้ย่านความถี่ใดในการให้บริการแอลทีอี เพราะของแต่ละประเทศก็ใช้ย่านความถี่ที่แตกต่างกันไป ซึ่งทีโอทีและกสท ก็มีคลื่นความถี่ที่กำลังจะหมดสัมปทานคือ 1800 เมกะเฮิรตซ์ และ 2300 เมกะเฮิรตซ์ ขณะที่ คาดการณ์ว่าหากดำเนินการเรื่องแอลทีอี ต้องใช้เงินลงทุนถึง 2.3 หมื่นล้านบาท.
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/tech/300799
ปลัดไอซีที กล่าวต่อว่า ขณะนี้ กำลังพิจารณาว่าบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็นจำนวนมากและครอบคลุมทั่วประเทศ ดังนั้นเมื่อหมดสัมปทานน่าจะนำคลื่นความถี่ที่มีและโครงข่ายโทรคมนาคมที่ลงทุนไปแล้วมาพัฒนาเป็นแอลทีอี เชื่อมโยงกับการใช้ประโยชน์ภายใต้โครงการที่เป็นนโยบายของรัฐบาล เช่น การใช้แท็บเล็ตป.1 เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โครงการบริการแพทย์ทางไกล และโครงการไว-ไฟ ฟรีซึ่งต้องหารือกับ กสทช. เพื่อหาความชัดเจน
ปลัดไอซีที กล่าวด้วยว่า ต้องการเห็นความชัดเจนว่า กสทช. จะใช้ย่านความถี่ใดในการให้บริการแอลทีอี เพราะของแต่ละประเทศก็ใช้ย่านความถี่ที่แตกต่างกันไป ซึ่งทีโอทีและกสท ก็มีคลื่นความถี่ที่กำลังจะหมดสัมปทานคือ 1800 เมกะเฮิรตซ์ และ 2300 เมกะเฮิรตซ์ ขณะที่ คาดการณ์ว่าหากดำเนินการเรื่องแอลทีอี ต้องใช้เงินลงทุนถึง 2.3 หมื่นล้านบาท.
_____________________________________
'ไชยยันต์'เล็งคุย กสทช.คืนคลื่น-หนุนทีโอที-กสท ลุย4จี
"ไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์" ปลัดไอซีที เครื่องร้อน เล็งคุย กสทช. ดัน ทีโอที-กสท ลุย 4จี บนคลื่นความถี่ 1800-2300 เมกะเฮิรตซ์ หลังหมดสัมปทาน...
นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที กล่าวว่า หลังได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นปลัดฯ นโยบายเร่งด่วนที่จะเร่งดำเนินงาน คือ การหารือร่วมกับคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช.) เกี่ยวกับความชัดเจนในการคืนคลื่น เนื่องจากตามนโยบายสมาร์ทเน็ตเวิร์กของรัฐบาลมีแนวคิดที่จะทำแอลทีอี หรือเทคโนโลยี 4จี
ปลัดไอซีที กล่าวต่อว่า ขณะนี้ กำลังพิจารณาว่าบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็นจำนวนมากและครอบคลุมทั่วประเทศ ดังนั้นเมื่อหมดสัมปทานน่าจะนำคลื่นความถี่ที่มีและโครงข่ายโทรคมนาคมที่ลงทุนไปแล้วมาพัฒนาเป็นแอลทีอี เชื่อมโยงกับการใช้ประโยชน์ภายใต้โครงการที่เป็นนโยบายของรัฐบาล เช่น การใช้แท็บเล็ตป.1 เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โครงการบริการแพทย์ทางไกล และโครงการไว-ไฟ ฟรีซึ่งต้องหารือกับ กสทช. เพื่อหาความชัดเจน
ปลัดไอซีที กล่าวด้วยว่า ต้องการเห็นความชัดเจนว่า กสทช. จะใช้ย่านความถี่ใดในการให้บริการแอลทีอี เพราะของแต่ละประเทศก็ใช้ย่านความถี่ที่แตกต่างกันไป ซึ่งทีโอทีและกสท ก็มีคลื่นความถี่ที่กำลังจะหมดสัมปทานคือ 1800 เมกะเฮิรตซ์ และ 2300 เมกะเฮิรตซ์ ขณะที่ คาดการณ์ว่าหากดำเนินการเรื่องแอลทีอี ต้องใช้เงินลงทุนถึง 2.3 หมื่นล้านบาท.
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/tech/300799
ไม่มีความคิดเห็น: