07 ตุลาคม 2555 (เกาะติดประมูล3G) ถูกโต้กลับน้ำหนักไม่พอ+ไม่ใช้ผู้เสียหาย !!! นักวิชาการอิสระจ่อยื่นฟ้องศาล ปค.ระงับ
(เกาะติดประมูล3G) ถูกโต้กลับน้ำหนักไม่พอ+ไม่ใช้ผู้เสียหาย !!! นักวิชาการอิสระจ่อยื่นฟ้องศาล ปค.ระงับ
ประเด็นหลัก
โดยการประมูล 3จี คลื่นความถี่ 2.1 GHz ของ กสทช.ไม่มีข้อกำหนดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ใน 4 เรื่อง ได้แก่
1. ไม่มีข้อกำหนดถึงคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ ว่า ประชาชนจะได้ใช้คลื่นความถี่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น ความเสถียร หรือความเร็ว ซึ่งผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไรก็ได้ และในตลาดการแข่งขันย่อมเอาเปรียบ และไม่เกิดการแข่งขัน ประชาชนไม่มีทางเลือก 2. กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่าการให้บริการด้านข้อมูล ว่าผู้ให้บริการจะต้องเก็บค่าบริการ ในอัตราสูงสุดเท่าไร เมื่อไม่มีข้อกำหนดเช่นนี้ ผู้ให้บริการ ยิ่งจ่ายค่าบริการสูงจะกำหนดค่าบริการสูง ดังนั้นเมื่อรวมไม่กำหนดคุณภาพการให้บริการ และหากเอกชนจะใช้เครื่องมือทางการตลาดช่วย ก็สามารถกำหนดราคาให้ต่ำได้ แต่คุณภาพการให้บริการ หรือสัญญาณจะต่ำลง เหมือนเช่นในปัจจุบัน
3. เงื่อนไขการบริการสำหรับผู้ด้อยโอกาสควรกำหนด ว่า เมื่อผู้ให้บริการเปิดให้บริการแล้ว จะต้องเปิดให้บริการกับผู้ด้อยโอกาส หรือ คนยากจนในชบบท ซึ่งประเด็นนี้ ในต่างประเทศ สามารถกำหนดได้ก่อนประมูล แต่กสทช.ไม่ได้กำหนด ดังนั้นผู้ประมุลได้จึงไม่มีความจำเป็นต้องทำ แต่ที่กำหนดคือ ปีที่ 3 หลังได้ใบอนุญาตต้องให้บริการครอบคลุมร้อยละ 80 ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะต้องอยู่ในเขตเมือง
และ 4. กสทช.ไม่มีระเบียบกำหนดว่ารายได้จากการประมูลจะทำประโยชน์ให้กับประชาชน อย่างไร เพราะไม่มีกฎหมายกำหนด และการประมูลคลื่นความถี่จะก่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด เช่น การสร้างเสริมใช้จ่ายในสาธารณะ และเป็นไปตามที่ พรบ.กสทช.กำหนด และที่สำคัญ จะนำส่งรัฐจำนวนเท่าไร
ด้านนายแพทย์ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กสทช.คุ้มครองผู้บริโภค ในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นเรื่องการฟ้องไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่จะทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน นายอานุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปี 2553 คนที่ฟ้องนั้นจะต้องเป็นหน่วยงานของรัฐที่เสียประโยชน์ เช่น บริษัท กสท โทรคมนาคม หรือบริษัท ทีโอที เท่านั้น
___________________________________
นักวิชาการอิสระจ่อยื่นฟ้องศาล ปค.ระงับประมูล 3G 10 ต.ค.นี้
นายอานุภาพ ถิรลาภ นักวิชาการอิสระด้านโทรคมนาคม เปิดเผยว่า เตรียมยื่นขอให้ศาลปกครองมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวให้ระงับการประมูลคลื่น ความถี่ 3G ไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะออกเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน โดยเห็นว่าการประมูลคลื่นความถี่ สำนักงาน กสทช.จะต้องกระทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน แต่จากข้อกำหนดในการประมูลขณะนี้ หรือในวันที่ 9 ตุลาคมนี้ ที่จะประกาศรายชื่อผู้ผ่านคุณสมบัติ ทาง กสทช.ไม่ได้กำหนดเงื่อนไขใดๆ ที่จะให้บริษัทเอกชนที่จะเข้าร่วมประมูลดำเนินการเพิ่ม ก็จะต้องไปยื่นฟ้องใน 4 ประเด็น
ทั้งนี้ 4 ประเด็นดังกล่าว ได้แก่ 1. กสทช.ไม่ได้กำหนดเกี่ยวกับคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ เช่น ความเร็ว หรือความเสถียร ผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไร เพราะเมื่อไม่ได้เขียน ทางค่ายมือถือก็สามารถกำหนดการให้บริการอย่างไรก็ได้ และเมื่อมีการแข่งขันในตลาดเพียง 3 ราย ย่อมเอาเปรียบลูกค้า และลูกค้าก็จะไม่มีทางเลือก
ประเด็นที่ 2 กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่าจะเก็บในอัตราสูงสุดเท่าไร จึงเป็นโอกาสให้กับผู้ให้บริการกำหนดค่าบริการได้เอง ประเด็นที่ 3 เป็นเรื่องของเงื่อนไขว่า ต้องให้บริการสำหรับผู้ด้อยโอกาส หรือคนในพื้นที่ชนบท ซึ่งประเด็นนี้ในต่างประเทศสามารถกำหนดได้เลยก่อนประมูล แต่ กสทช.ไม่ได้ทำ และประเด็นสุดท้าย กสทช.ไม่มีระเบียบใดๆ ที่กำหนดว่า รายได้เฉพาะที่ได้มาจากการประมูลจะนำไปทำอะไรให้เป็นประโยชน์กับประชาชน เพราะกฎหมายพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ ปี 2553 กำหนดเพียงว่า รายได้จะต้องนำเข้ารัฐ แต่ กสทช.ควรจะประกาศเป็นแผนที่ชัดเจนกว่านี้
นายอานุภาพ ยืนยันว่า ส่วนตัวไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการประมูลคลื่น 3G แต่สิ่งที่รับไม่ได้คือการประมูลที่เกิดขึ้น ประโยชน์สูงสุดไม่ได้อยู่ที่ประชาชน
ด้านนายแพทย์ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กสทช.คุ้มครองผู้บริโภค ในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นเรื่องการฟ้องไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่จะทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน นายอานุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปี 2553 คนที่ฟ้องนั้นจะต้องเป็นหน่วยงานของรัฐที่เสียประโยชน์ เช่น บริษัท กสท โทรคมนาคม หรือบริษัท ทีโอที เท่านั้น
ASTV ผู้จัดการ
http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000122856&Keyword=%a1%ca%b7
____________________________________
นักวิชาการอิสระจ่อยื่นศาลปกครองระงับประมูล3G
นาย อานุภาพ ถิรลาภ นักวิชาการอิสระด้านโทรคมนาคม เปิดเผยว่า เตรียมยื่นขอให้ศาลปกครองมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวให้ระงับการประมูลคลื่น ความถี่ 3G ไว้ก่อน จนกว่า คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ?(กสทช.) จะออกเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ?โดยเห็นว่าจากข้อกำหนดในการประมูลขณะนี้ หรือในวันที่ 9 ตุลาคม ?ที่จะประกาศรายชื่อผู้ผ่านคุณสมบัติ ทาง กสทช.ไม่ได้กำหนดเงื่อนไขใดๆ ที่จะให้บริษัทเอกชนที่จะเข้าร่วมประมูลดำเนินการเพิ่ม ก็จะต้องไปยื่นฟ้องใน 4 ประเด็น คือ
1. กสทช.ไม่ได้กำหนดเกี่ยวกับคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ เช่น ความเร็ว หรือความเสถียร ผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไร เพราะเมื่อไม่ได้เขียน ทางค่ายมือถือก็สามารถกำหนดการให้บริการอย่างไรก็ได้ และเมื่อมีการแข่งขันในตลาดเพียง 3 ราย ย่อมเอาเปรียบลูกค้า และลูกค้าก็จะไม่มีทางเลือก??? 2 กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่าจะเก็บในอัตราสูงสุดเท่าไร จึงเป็นโอกาสให้กับผู้ให้บริการกำหนดค่าบริการได้เอง
3. เป็นเรื่องของเงื่อนไขว่า ต้องให้บริการสำหรับผู้ด้อยโอกาส หรือคนในพื้นที่ชนบท ซึ่งประเด็นนี้ในต่างประเทศสามารถกำหนดได้เลยก่อนประมูล แต่ กสทช.ไม่ได้ทำ และประเด็นสุดท้าย กสทช.ไม่มีระเบียบใดๆ ที่กำหนดว่า รายได้เฉพาะที่ได้มาจากการประมูลจะนำไปทำอะไรให้เป็นประโยชน์กับประชาชน เพราะกฎหมายพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ ปี 2553 กำหนดเพียงว่า รายได้จะต้องนำเข้ารัฐ แต่ กสทช.ควรจะประกาศเป็นแผนที่ชัดเจนกว่านี้
“ยืน ยันว่า ส่วนตัวไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการประมูลคลื่น 3G แต่สิ่งที่รับไม่ได้คือการประมูลที่เกิดขึ้น ประโยชน์สูงสุดไม่ได้อยู่ที่ประชาชน” นายอานุภาพกล่าว
ด้านนายแพทย์ ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กสทช.คุ้มครองผู้บริโภค ในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นเรื่องการฟ้องไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่จะทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน นายอานุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปี 2553 คนที่ฟ้องต้องเป็นหน่วยงานของรัฐที่เสียประโยชน์ เช่น บริษัท กสท โทรคมนาคม หรือบริษัท ทีโอที เท่านั้น
แนวหน้า
http://www.ryt9.com/s/nnd/1504071
_______________________________________
อนุภาพเล็งยื่นศาลปกครองระงับประมูล 3จี หวังกสทช.กำหนดเงื่อนไขตามรธน.
นายอนุ ภาพ ถิรลาภ นักวิชาการด้านโทรคมนาคม เปิดเผยว่า เตรียมยื่นฟ้องต่อศาลปครองในวันที่ 10 ต.ค. 55 เพื่อขอให้ค้มครองชั่วคราวเพื่อระงับการประมูลใบอนุญาต (ไลเซ่นส์) 3จี บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz ของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ที่จะมีขึ้นในวันที่ 16 ต.ค.นี้ โดยจะขอให้ศาลให้ความคุ้มครอง ระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะออกเงื่อนไขการประมูลใบอนุญาตที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ตามข้อกำหนดของรัฐธรรมนูญ
โดยการประมูล 3จี คลื่นความถี่ 2.1 GHz ของ กสทช.ไม่มีข้อกำหนดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ใน 4 เรื่อง ได้แก่
1. ไม่มีข้อกำหนดถึงคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ ว่า ประชาชนจะได้ใช้คลื่นความถี่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น ความเสถียร หรือความเร็ว ซึ่งผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไรก็ได้ และในตลาดการแข่งขันย่อมเอาเปรียบ และไม่เกิดการแข่งขัน ประชาชนไม่มีทางเลือก 2. กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่าการให้บริการด้านข้อมูล ว่าผู้ให้บริการจะต้องเก็บค่าบริการ ในอัตราสูงสุดเท่าไร เมื่อไม่มีข้อกำหนดเช่นนี้ ผู้ให้บริการ ยิ่งจ่ายค่าบริการสูงจะกำหนดค่าบริการสูง ดังนั้นเมื่อรวมไม่กำหนดคุณภาพการให้บริการ และหากเอกชนจะใช้เครื่องมือทางการตลาดช่วย ก็สามารถกำหนดราคาให้ต่ำได้ แต่คุณภาพการให้บริการ หรือสัญญาณจะต่ำลง เหมือนเช่นในปัจจุบัน
3. เงื่อนไขการบริการสำหรับผู้ด้อยโอกาสควรกำหนด ว่า เมื่อผู้ให้บริการเปิดให้บริการแล้ว จะต้องเปิดให้บริการกับผู้ด้อยโอกาส หรือ คนยากจนในชบบท ซึ่งประเด็นนี้ ในต่างประเทศ สามารถกำหนดได้ก่อนประมูล แต่กสทช.ไม่ได้กำหนด ดังนั้นผู้ประมุลได้จึงไม่มีความจำเป็นต้องทำ แต่ที่กำหนดคือ ปีที่ 3 หลังได้ใบอนุญาตต้องให้บริการครอบคลุมร้อยละ 80 ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะต้องอยู่ในเขตเมือง
และ 4. กสทช.ไม่มีระเบียบกำหนดว่ารายได้จากการประมูลจะทำประโยชน์ให้กับประชาชน อย่างไร เพราะไม่มีกฎหมายกำหนด และการประมูลคลื่นความถี่จะก่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด เช่น การสร้างเสริมใช้จ่ายในสาธารณะ และเป็นไปตามที่ พรบ.กสทช.กำหนด และที่สำคัญ จะนำส่งรัฐจำนวนเท่าไร
"การประมูลความถี่ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อประชาชน ตามรัฐธรรมนูญกำหนด จึงขอให้ศาลสั่งระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะจัดทำเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน" นายอนุภาพ กล่าว
ทั้งนี้ยืนยันว่าไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการประมูล แต่ไม่เห็นด้วยกับการประมูลในราคาที่สูง เพราะผู้รับภาระคือประชาชน จากต้นทุนของค่ายผู้ให้บริการ
--อินโฟเควสท์
http://www.ryt9.com/s/iq03/1504093
_______________________________
'อานุภาพ' จองกฐิน ยื่นศาล ปค.เบรกประมูล 3 จี
เล็ง 10 ต.ค.! 'อานุภาพ ถิรลาภ' ประกาศจะยื่นศาลปกครองขอคุ้มครองชั่วคราวระงับการประมูลใบอนุญาต 3 จี ซึ่ง กสทช.กำหนดเอาไว้วันที่ 16 ต.ค. อ้างไม่เป็นประโยชน์ ขณะที่ กก.กสทช. ระบุไร้น้ำหนัก...
เมื่อวันที่ 7 ต.ค. นายอานุภาพ ถิรลาภ นักวิชาการอิสระด้านโทรคมนาคม กล่าวว่า ในวันที่ 10 ค.ต. เตรียมยื่นศาลปกครองคุ้มครองชั่วคราวการเปิดประมูลใบอนุญาต หรือ ไลเซ่นส์ 3จี คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ของ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. ในวันที่ 16 ต.ค.นี้ โดยจะขอให้ศาลให้ความคุ้มครอง ระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะออกเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ตามข้อกฎหนดของรัฐธรรมนูญ ต่อการประมูลคลื่นความถี่ เพราะองค์กรอิสระจะกระทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
นัก วิชาการอิสระด้านโทรคมนาคม กล่าวต่อว่า จากข้อกำหนดในการประมูล ไม่มีข้อกำหนดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน 4 เรื่อง ได้แก่ 1. ไม่มีข้อกำหนดที่พูดถึงคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ ว่า ประชาชนจะได้ใช้คลื่นความถี่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น ความเสถียร หรือความเร็ว ซึ่งผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไรก็ได้ เกิดการแข่งขันในตลาด ประชาชนไม่มีทางเลือก 2. กสทช. ไม่มีข้อกำหนดด้านราคาว่าการให้บริการด้านข้อมูล ผู้ให้บริการจะต้องเก็บค่าบริการในอัตราสูงสุดเท่าไร อย่างไร และถ้าเอกชนจะใช้เครื่องมือทางการตลาดช่วย ก็สามารถกำหนดราคาให้ต่ำได้ แต่คุณภาพการให้บริการ หรือสัญญาณจะต่ำลง 3. เรื่องเงื่อนไขการบริการสำหรับผู้ด้อยโอกาสว่า เมื่อผู้ให้บริการเปิดให้บริการแล้ว จะต้องเปิดให้บริการกับผู้ด้อยโอกาส หรือ คนยากจนในชบบท ซึ่งประเด็นนี้ ต่างประเทศสามารถกำหนดได้ก่อนประมูล แต่ กสทช. ไม่ได้ดำเนินการ หากเป็นเช่นนี้ ผู้ประมูลได้ก็ไม่มีความจำเป็นต้องทำ และ 4. กสทช.ไม่มีระเบียบกำหนดรายได้จากการประมูลที่ชัดเจน ว่าจะนำประโยชน์ให้กับประชาชนอย่างไร เพราะไม่มีกฎหมายกำหนด แต่ขึ้นอยู่กับว่าจะใช้ทำอะไรก็ได้ และการประมูลคลื่นความถี่จะก่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด เช่น การสร้างเสริมใช้จ่ายในสาธารณะ และเป็นไปตามที่ พ.ร.บ.กสทช.กำหนด และที่สำคัญ จะเอาเข้ารัฐ หรือไม่เข้าเท่าไรก็ได้ การประมูลมาก
ทั้ง นี้ จะเห็นชัดเจนว่า ประชาชนเป็นเจ้าของความถี่ การประมูลความถี่ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ตาม รธน.กำหนด จึงขอให้ศาลสั่งระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะได้จัดทำเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ตามที่เงื่อนไข ขณะเดียวกัน ยืนยันว่าไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการประมูล นอกจากนี้ ยังไม่เห็นด้วยกับการประมูลในราคาที่สูง เพราะยิ่งราคาสูง ประชาชน เพราะจะต้องแบกภาระต้นทุนของค่ายผู้ให้บริการ
นพ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กรรมการ กสทช. ด้านคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นการฟ้องนั้น ไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่ทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน นายอานุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะจะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปี 2553 คนที่ฟ้องนั้นจะต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่เสียประโยชน์ อย่าง บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT หรือ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) .
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/tech/296732
____________________________________
“นักวิชาการอิสระ” เตรียมยื่นศาลระงับประมูล3จีกสทช.
“ดร.อนุ ภาพ ถิรภาพ” เตรียมยื่นศาลระงับการประมูล 3จีของกสทช. พุธนี้ ระบุ กสทช.ยังออกเงื่อนไขการประมูลที่ประชาชนยังไม่ได้ประโยชน์สูงสุด ด้านกสทช.ยันเหตุผลอ่อนเกินไปไม่น่ากระทบการประมูล3จี
วันืั้ 7 ต.ค. ดร.อนุภาพ ถิรลาภ นักวิชาการอิสระด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม กล่าวว่า ในวันพุธที่ 10 ต.ค.นี้ จะยื่นศาลปกครองเพื่อขอให้คุ้มครองชั่วคราวระงับการประมูลใบอนุญาตคลื่นความ ถี่ 3 จี ที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) กำลังจะจัดขึ้นการประมูลในวันที่ 16 ต.ค.นี้ โดยเห็นว่าไม่ได้เป็นประโยชน์
ดร.อนุภาพ กล่าวต่อว่า สำหรับประเด็นที่จะขอศาลให้ความคุ้มครอง ระงับการประมูลไว้ก่อน เพราะต้องการให้ กสทช. ออกเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ตามข้อกำหนดของรัฐธรรมนูญ เพราะรัฐธรรมนูญกำหนดว่า การประมูลคลื่นความถี่ องค์กรอิสระจะต้องกระทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน และจากข้อกำหนดในการประมูล ไม่มีข้อกำหนดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ใน 4 เรื่องด้วยกัน คือ 1. ไม่มีข้อกำหนดที่พูดถึงคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ ว่า ประชาชนจะได้ใช้คลื่นความถี่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น ความเสถียร หรือความเร็ว ซึ่งผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไรก็ได้ และในตลาดการแข่งขันก็ย่อมเอาเปรียบ และไม่เกิดการแข่งขัน ประชาชนไม่มีทางเลือก
ประเด็นที่ 2. กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่า การให้บริการด้านข้อมูลนั้นผู้ให้บริการจะต้องเก็บค่าบริการ ในอัตราสูงสุดเท่าไหร่ เมื่อไม่มีข้อกำหนดเช่นนี้ ผู้ให้บริการ ยิ่งจ่ายค่าบริการสูงเท่าไหร่ ก็ยิ่งจะกำหนดค่าบริการได้สูงเท่านั้น เมื่อรวมกับข้อแรกที่ไม่กำหนดคุณภาพการให้บริการ หากเอกชนจะใช้เครื่องมือทางการตลาดช่วย ก็สามารถกำหนดราคาให้ต่ำได้ แต่คุณภาพการให้บริการ หรือสัญญาณจะต่ำลง เหมือนเช่นในปัจจุบัน ประเด็นที่ 3.เรื่องเงื่อนไขการบริการสำหรับผู้ด้อยโอกาส เมื่อผู้ให้บริการเปิดให้บริการแล้ว จะต้องเปิดให้บริการกับผู้ด้อยโอกาส หรือ คนยากจนในชนบท ซึ่งประเด็นนี้ ในต่างประเทศ สามารถกำหนดได้เลยก่อนประมูล แต่ กสทช.ไม่ได้ทำ หากเป็นเช่นนี้ ผู้ประมูลได้ก็ไม่มีความจำเป็นต้องทำ
และประเด็นสุดท้าย คือ กสทช. ไม่มีระเบียบใดๆ กำหนดรายได้จากการประมูลที่ชัดเจน ว่าจะนำประโยชน์ให้กับประชาชนอย่างไร เพราะไม่มีกฎหมายกำหนด แต่ขึ้นอยู่กับว่าจะใช้ทำอะไรก็ได้ และการประมูลคลื่นความถี่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสูดอย่างไร เช่น การสร้างเสริมใช้จ่ายในสาธารณะ และเป็นไปตามที่ พ.ร.บ. กสทช. กำหนด และที่สำคัญจะเอาเข้ารัฐ หรือไม่เข้ารัฐก็ยังไม่ชัดเจน
ดร.อนุภาพ กล่าวว่า จากทั้งหมดจะเห็นชัดเจนว่า ประชาชนเป็นเจ้าของคลื่นความถี่ แต่การประมูลคลื่นความถี่ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด จึงจะขอให้ศาลสั่งระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะได้จัดทำเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน
น.พ.ประ วิทย์ ลี่สถาพรวงศา กสทช.คุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นการฟ้องนั้น ไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่ทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน ดร.อนุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะจะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปีพ.ศ. 2553 คนที่ฟ้องจะต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่เสียประโยชน์ เช่น บริษัท กสท.โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เท่านั้น
สำหรับ แผนการประมูล 3จี ของกสทช. หลังจากเปิดรับหนังสือและเอกสารเพื่อขอเข้าร่วมประมูลใบอนุญาต 3จี เมื่อวันที่ 28 ก.ย.ที่ผ่านมา ซึ่งมี 3 บริษัทที่ยื่นเอกสาร คือ บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ตเวิร์ก, บริษัท ดีแทค เนทเวอร์ค จำกัด และบริษัท เรียล ฟิวเจอร์ โดยตามกำหนดการวันที่ 9 ต.ค.นี้กสทช.จะประกาศรายชื่อผู้ที่มีคุณสมบัติพร้อมเข้าร่วมประมูลอย่างเป็น ทางการ และจะจัดประมูล 3จีวันที่ 16 ต.ค.นี้ ที่สำนักงาน กสทช.
นอก จากนี้ วันนี้ (7 ต.ค.) เป็นวันครบรอบ 1 ปีในการดำรงตำแหน่งของกสทช.ทั้ง 11 คน หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งกสทช. ทั้ง 11 คน เมื่อวันที่ 7 ต.ค.2554.
เดลินิวส์
http://www.dailynews.co.th/technology/159468
ประเด็นหลัก
โดยการประมูล 3จี คลื่นความถี่ 2.1 GHz ของ กสทช.ไม่มีข้อกำหนดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ใน 4 เรื่อง ได้แก่
1. ไม่มีข้อกำหนดถึงคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ ว่า ประชาชนจะได้ใช้คลื่นความถี่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น ความเสถียร หรือความเร็ว ซึ่งผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไรก็ได้ และในตลาดการแข่งขันย่อมเอาเปรียบ และไม่เกิดการแข่งขัน ประชาชนไม่มีทางเลือก 2. กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่าการให้บริการด้านข้อมูล ว่าผู้ให้บริการจะต้องเก็บค่าบริการ ในอัตราสูงสุดเท่าไร เมื่อไม่มีข้อกำหนดเช่นนี้ ผู้ให้บริการ ยิ่งจ่ายค่าบริการสูงจะกำหนดค่าบริการสูง ดังนั้นเมื่อรวมไม่กำหนดคุณภาพการให้บริการ และหากเอกชนจะใช้เครื่องมือทางการตลาดช่วย ก็สามารถกำหนดราคาให้ต่ำได้ แต่คุณภาพการให้บริการ หรือสัญญาณจะต่ำลง เหมือนเช่นในปัจจุบัน
3. เงื่อนไขการบริการสำหรับผู้ด้อยโอกาสควรกำหนด ว่า เมื่อผู้ให้บริการเปิดให้บริการแล้ว จะต้องเปิดให้บริการกับผู้ด้อยโอกาส หรือ คนยากจนในชบบท ซึ่งประเด็นนี้ ในต่างประเทศ สามารถกำหนดได้ก่อนประมูล แต่กสทช.ไม่ได้กำหนด ดังนั้นผู้ประมุลได้จึงไม่มีความจำเป็นต้องทำ แต่ที่กำหนดคือ ปีที่ 3 หลังได้ใบอนุญาตต้องให้บริการครอบคลุมร้อยละ 80 ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะต้องอยู่ในเขตเมือง
และ 4. กสทช.ไม่มีระเบียบกำหนดว่ารายได้จากการประมูลจะทำประโยชน์ให้กับประชาชน อย่างไร เพราะไม่มีกฎหมายกำหนด และการประมูลคลื่นความถี่จะก่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด เช่น การสร้างเสริมใช้จ่ายในสาธารณะ และเป็นไปตามที่ พรบ.กสทช.กำหนด และที่สำคัญ จะนำส่งรัฐจำนวนเท่าไร
ด้านนายแพทย์ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กสทช.คุ้มครองผู้บริโภค ในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นเรื่องการฟ้องไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่จะทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน นายอานุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปี 2553 คนที่ฟ้องนั้นจะต้องเป็นหน่วยงานของรัฐที่เสียประโยชน์ เช่น บริษัท กสท โทรคมนาคม หรือบริษัท ทีโอที เท่านั้น
___________________________________
นักวิชาการอิสระจ่อยื่นฟ้องศาล ปค.ระงับประมูล 3G 10 ต.ค.นี้
นายอานุภาพ ถิรลาภ นักวิชาการอิสระด้านโทรคมนาคม เปิดเผยว่า เตรียมยื่นขอให้ศาลปกครองมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวให้ระงับการประมูลคลื่น ความถี่ 3G ไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะออกเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน โดยเห็นว่าการประมูลคลื่นความถี่ สำนักงาน กสทช.จะต้องกระทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน แต่จากข้อกำหนดในการประมูลขณะนี้ หรือในวันที่ 9 ตุลาคมนี้ ที่จะประกาศรายชื่อผู้ผ่านคุณสมบัติ ทาง กสทช.ไม่ได้กำหนดเงื่อนไขใดๆ ที่จะให้บริษัทเอกชนที่จะเข้าร่วมประมูลดำเนินการเพิ่ม ก็จะต้องไปยื่นฟ้องใน 4 ประเด็น
ทั้งนี้ 4 ประเด็นดังกล่าว ได้แก่ 1. กสทช.ไม่ได้กำหนดเกี่ยวกับคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ เช่น ความเร็ว หรือความเสถียร ผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไร เพราะเมื่อไม่ได้เขียน ทางค่ายมือถือก็สามารถกำหนดการให้บริการอย่างไรก็ได้ และเมื่อมีการแข่งขันในตลาดเพียง 3 ราย ย่อมเอาเปรียบลูกค้า และลูกค้าก็จะไม่มีทางเลือก
ประเด็นที่ 2 กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่าจะเก็บในอัตราสูงสุดเท่าไร จึงเป็นโอกาสให้กับผู้ให้บริการกำหนดค่าบริการได้เอง ประเด็นที่ 3 เป็นเรื่องของเงื่อนไขว่า ต้องให้บริการสำหรับผู้ด้อยโอกาส หรือคนในพื้นที่ชนบท ซึ่งประเด็นนี้ในต่างประเทศสามารถกำหนดได้เลยก่อนประมูล แต่ กสทช.ไม่ได้ทำ และประเด็นสุดท้าย กสทช.ไม่มีระเบียบใดๆ ที่กำหนดว่า รายได้เฉพาะที่ได้มาจากการประมูลจะนำไปทำอะไรให้เป็นประโยชน์กับประชาชน เพราะกฎหมายพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ ปี 2553 กำหนดเพียงว่า รายได้จะต้องนำเข้ารัฐ แต่ กสทช.ควรจะประกาศเป็นแผนที่ชัดเจนกว่านี้
นายอานุภาพ ยืนยันว่า ส่วนตัวไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการประมูลคลื่น 3G แต่สิ่งที่รับไม่ได้คือการประมูลที่เกิดขึ้น ประโยชน์สูงสุดไม่ได้อยู่ที่ประชาชน
ด้านนายแพทย์ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กสทช.คุ้มครองผู้บริโภค ในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นเรื่องการฟ้องไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่จะทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน นายอานุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปี 2553 คนที่ฟ้องนั้นจะต้องเป็นหน่วยงานของรัฐที่เสียประโยชน์ เช่น บริษัท กสท โทรคมนาคม หรือบริษัท ทีโอที เท่านั้น
ASTV ผู้จัดการ
http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000122856&Keyword=%a1%ca%b7
____________________________________
นักวิชาการอิสระจ่อยื่นศาลปกครองระงับประมูล3G
นาย อานุภาพ ถิรลาภ นักวิชาการอิสระด้านโทรคมนาคม เปิดเผยว่า เตรียมยื่นขอให้ศาลปกครองมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวให้ระงับการประมูลคลื่น ความถี่ 3G ไว้ก่อน จนกว่า คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ?(กสทช.) จะออกเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ?โดยเห็นว่าจากข้อกำหนดในการประมูลขณะนี้ หรือในวันที่ 9 ตุลาคม ?ที่จะประกาศรายชื่อผู้ผ่านคุณสมบัติ ทาง กสทช.ไม่ได้กำหนดเงื่อนไขใดๆ ที่จะให้บริษัทเอกชนที่จะเข้าร่วมประมูลดำเนินการเพิ่ม ก็จะต้องไปยื่นฟ้องใน 4 ประเด็น คือ
1. กสทช.ไม่ได้กำหนดเกี่ยวกับคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ เช่น ความเร็ว หรือความเสถียร ผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไร เพราะเมื่อไม่ได้เขียน ทางค่ายมือถือก็สามารถกำหนดการให้บริการอย่างไรก็ได้ และเมื่อมีการแข่งขันในตลาดเพียง 3 ราย ย่อมเอาเปรียบลูกค้า และลูกค้าก็จะไม่มีทางเลือก??? 2 กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่าจะเก็บในอัตราสูงสุดเท่าไร จึงเป็นโอกาสให้กับผู้ให้บริการกำหนดค่าบริการได้เอง
3. เป็นเรื่องของเงื่อนไขว่า ต้องให้บริการสำหรับผู้ด้อยโอกาส หรือคนในพื้นที่ชนบท ซึ่งประเด็นนี้ในต่างประเทศสามารถกำหนดได้เลยก่อนประมูล แต่ กสทช.ไม่ได้ทำ และประเด็นสุดท้าย กสทช.ไม่มีระเบียบใดๆ ที่กำหนดว่า รายได้เฉพาะที่ได้มาจากการประมูลจะนำไปทำอะไรให้เป็นประโยชน์กับประชาชน เพราะกฎหมายพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ ปี 2553 กำหนดเพียงว่า รายได้จะต้องนำเข้ารัฐ แต่ กสทช.ควรจะประกาศเป็นแผนที่ชัดเจนกว่านี้
“ยืน ยันว่า ส่วนตัวไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการประมูลคลื่น 3G แต่สิ่งที่รับไม่ได้คือการประมูลที่เกิดขึ้น ประโยชน์สูงสุดไม่ได้อยู่ที่ประชาชน” นายอานุภาพกล่าว
ด้านนายแพทย์ ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กสทช.คุ้มครองผู้บริโภค ในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นเรื่องการฟ้องไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่จะทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน นายอานุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปี 2553 คนที่ฟ้องต้องเป็นหน่วยงานของรัฐที่เสียประโยชน์ เช่น บริษัท กสท โทรคมนาคม หรือบริษัท ทีโอที เท่านั้น
แนวหน้า
http://www.ryt9.com/s/nnd/1504071
_______________________________________
อนุภาพเล็งยื่นศาลปกครองระงับประมูล 3จี หวังกสทช.กำหนดเงื่อนไขตามรธน.
นายอนุ ภาพ ถิรลาภ นักวิชาการด้านโทรคมนาคม เปิดเผยว่า เตรียมยื่นฟ้องต่อศาลปครองในวันที่ 10 ต.ค. 55 เพื่อขอให้ค้มครองชั่วคราวเพื่อระงับการประมูลใบอนุญาต (ไลเซ่นส์) 3จี บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz ของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ที่จะมีขึ้นในวันที่ 16 ต.ค.นี้ โดยจะขอให้ศาลให้ความคุ้มครอง ระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะออกเงื่อนไขการประมูลใบอนุญาตที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ตามข้อกำหนดของรัฐธรรมนูญ
โดยการประมูล 3จี คลื่นความถี่ 2.1 GHz ของ กสทช.ไม่มีข้อกำหนดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ใน 4 เรื่อง ได้แก่
1. ไม่มีข้อกำหนดถึงคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ ว่า ประชาชนจะได้ใช้คลื่นความถี่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น ความเสถียร หรือความเร็ว ซึ่งผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไรก็ได้ และในตลาดการแข่งขันย่อมเอาเปรียบ และไม่เกิดการแข่งขัน ประชาชนไม่มีทางเลือก 2. กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่าการให้บริการด้านข้อมูล ว่าผู้ให้บริการจะต้องเก็บค่าบริการ ในอัตราสูงสุดเท่าไร เมื่อไม่มีข้อกำหนดเช่นนี้ ผู้ให้บริการ ยิ่งจ่ายค่าบริการสูงจะกำหนดค่าบริการสูง ดังนั้นเมื่อรวมไม่กำหนดคุณภาพการให้บริการ และหากเอกชนจะใช้เครื่องมือทางการตลาดช่วย ก็สามารถกำหนดราคาให้ต่ำได้ แต่คุณภาพการให้บริการ หรือสัญญาณจะต่ำลง เหมือนเช่นในปัจจุบัน
3. เงื่อนไขการบริการสำหรับผู้ด้อยโอกาสควรกำหนด ว่า เมื่อผู้ให้บริการเปิดให้บริการแล้ว จะต้องเปิดให้บริการกับผู้ด้อยโอกาส หรือ คนยากจนในชบบท ซึ่งประเด็นนี้ ในต่างประเทศ สามารถกำหนดได้ก่อนประมูล แต่กสทช.ไม่ได้กำหนด ดังนั้นผู้ประมุลได้จึงไม่มีความจำเป็นต้องทำ แต่ที่กำหนดคือ ปีที่ 3 หลังได้ใบอนุญาตต้องให้บริการครอบคลุมร้อยละ 80 ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะต้องอยู่ในเขตเมือง
และ 4. กสทช.ไม่มีระเบียบกำหนดว่ารายได้จากการประมูลจะทำประโยชน์ให้กับประชาชน อย่างไร เพราะไม่มีกฎหมายกำหนด และการประมูลคลื่นความถี่จะก่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด เช่น การสร้างเสริมใช้จ่ายในสาธารณะ และเป็นไปตามที่ พรบ.กสทช.กำหนด และที่สำคัญ จะนำส่งรัฐจำนวนเท่าไร
"การประมูลความถี่ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อประชาชน ตามรัฐธรรมนูญกำหนด จึงขอให้ศาลสั่งระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะจัดทำเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน" นายอนุภาพ กล่าว
ทั้งนี้ยืนยันว่าไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการประมูล แต่ไม่เห็นด้วยกับการประมูลในราคาที่สูง เพราะผู้รับภาระคือประชาชน จากต้นทุนของค่ายผู้ให้บริการ
--อินโฟเควสท์
http://www.ryt9.com/s/iq03/1504093
_______________________________
'อานุภาพ' จองกฐิน ยื่นศาล ปค.เบรกประมูล 3 จี
เล็ง 10 ต.ค.! 'อานุภาพ ถิรลาภ' ประกาศจะยื่นศาลปกครองขอคุ้มครองชั่วคราวระงับการประมูลใบอนุญาต 3 จี ซึ่ง กสทช.กำหนดเอาไว้วันที่ 16 ต.ค. อ้างไม่เป็นประโยชน์ ขณะที่ กก.กสทช. ระบุไร้น้ำหนัก...
เมื่อวันที่ 7 ต.ค. นายอานุภาพ ถิรลาภ นักวิชาการอิสระด้านโทรคมนาคม กล่าวว่า ในวันที่ 10 ค.ต. เตรียมยื่นศาลปกครองคุ้มครองชั่วคราวการเปิดประมูลใบอนุญาต หรือ ไลเซ่นส์ 3จี คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ของ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. ในวันที่ 16 ต.ค.นี้ โดยจะขอให้ศาลให้ความคุ้มครอง ระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะออกเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ตามข้อกฎหนดของรัฐธรรมนูญ ต่อการประมูลคลื่นความถี่ เพราะองค์กรอิสระจะกระทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
นัก วิชาการอิสระด้านโทรคมนาคม กล่าวต่อว่า จากข้อกำหนดในการประมูล ไม่มีข้อกำหนดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน 4 เรื่อง ได้แก่ 1. ไม่มีข้อกำหนดที่พูดถึงคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ ว่า ประชาชนจะได้ใช้คลื่นความถี่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น ความเสถียร หรือความเร็ว ซึ่งผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไรก็ได้ เกิดการแข่งขันในตลาด ประชาชนไม่มีทางเลือก 2. กสทช. ไม่มีข้อกำหนดด้านราคาว่าการให้บริการด้านข้อมูล ผู้ให้บริการจะต้องเก็บค่าบริการในอัตราสูงสุดเท่าไร อย่างไร และถ้าเอกชนจะใช้เครื่องมือทางการตลาดช่วย ก็สามารถกำหนดราคาให้ต่ำได้ แต่คุณภาพการให้บริการ หรือสัญญาณจะต่ำลง 3. เรื่องเงื่อนไขการบริการสำหรับผู้ด้อยโอกาสว่า เมื่อผู้ให้บริการเปิดให้บริการแล้ว จะต้องเปิดให้บริการกับผู้ด้อยโอกาส หรือ คนยากจนในชบบท ซึ่งประเด็นนี้ ต่างประเทศสามารถกำหนดได้ก่อนประมูล แต่ กสทช. ไม่ได้ดำเนินการ หากเป็นเช่นนี้ ผู้ประมูลได้ก็ไม่มีความจำเป็นต้องทำ และ 4. กสทช.ไม่มีระเบียบกำหนดรายได้จากการประมูลที่ชัดเจน ว่าจะนำประโยชน์ให้กับประชาชนอย่างไร เพราะไม่มีกฎหมายกำหนด แต่ขึ้นอยู่กับว่าจะใช้ทำอะไรก็ได้ และการประมูลคลื่นความถี่จะก่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด เช่น การสร้างเสริมใช้จ่ายในสาธารณะ และเป็นไปตามที่ พ.ร.บ.กสทช.กำหนด และที่สำคัญ จะเอาเข้ารัฐ หรือไม่เข้าเท่าไรก็ได้ การประมูลมาก
ทั้ง นี้ จะเห็นชัดเจนว่า ประชาชนเป็นเจ้าของความถี่ การประมูลความถี่ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ตาม รธน.กำหนด จึงขอให้ศาลสั่งระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะได้จัดทำเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ตามที่เงื่อนไข ขณะเดียวกัน ยืนยันว่าไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการประมูล นอกจากนี้ ยังไม่เห็นด้วยกับการประมูลในราคาที่สูง เพราะยิ่งราคาสูง ประชาชน เพราะจะต้องแบกภาระต้นทุนของค่ายผู้ให้บริการ
นพ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กรรมการ กสทช. ด้านคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นการฟ้องนั้น ไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่ทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน นายอานุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะจะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปี 2553 คนที่ฟ้องนั้นจะต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่เสียประโยชน์ อย่าง บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT หรือ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) .
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/tech/296732
____________________________________
“นักวิชาการอิสระ” เตรียมยื่นศาลระงับประมูล3จีกสทช.
“ดร.อนุ ภาพ ถิรภาพ” เตรียมยื่นศาลระงับการประมูล 3จีของกสทช. พุธนี้ ระบุ กสทช.ยังออกเงื่อนไขการประมูลที่ประชาชนยังไม่ได้ประโยชน์สูงสุด ด้านกสทช.ยันเหตุผลอ่อนเกินไปไม่น่ากระทบการประมูล3จี
วันืั้ 7 ต.ค. ดร.อนุภาพ ถิรลาภ นักวิชาการอิสระด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม กล่าวว่า ในวันพุธที่ 10 ต.ค.นี้ จะยื่นศาลปกครองเพื่อขอให้คุ้มครองชั่วคราวระงับการประมูลใบอนุญาตคลื่นความ ถี่ 3 จี ที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) กำลังจะจัดขึ้นการประมูลในวันที่ 16 ต.ค.นี้ โดยเห็นว่าไม่ได้เป็นประโยชน์
ดร.อนุภาพ กล่าวต่อว่า สำหรับประเด็นที่จะขอศาลให้ความคุ้มครอง ระงับการประมูลไว้ก่อน เพราะต้องการให้ กสทช. ออกเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ตามข้อกำหนดของรัฐธรรมนูญ เพราะรัฐธรรมนูญกำหนดว่า การประมูลคลื่นความถี่ องค์กรอิสระจะต้องกระทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน และจากข้อกำหนดในการประมูล ไม่มีข้อกำหนดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ใน 4 เรื่องด้วยกัน คือ 1. ไม่มีข้อกำหนดที่พูดถึงคุณภาพของสัญญาณในการให้บริการ ว่า ประชาชนจะได้ใช้คลื่นความถี่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น ความเสถียร หรือความเร็ว ซึ่งผู้ให้บริการจะกำหนดอย่างไรก็ได้ และในตลาดการแข่งขันก็ย่อมเอาเปรียบ และไม่เกิดการแข่งขัน ประชาชนไม่มีทางเลือก
ประเด็นที่ 2. กสทช.ไม่มีข้อกำหนดด้านราคา ว่า การให้บริการด้านข้อมูลนั้นผู้ให้บริการจะต้องเก็บค่าบริการ ในอัตราสูงสุดเท่าไหร่ เมื่อไม่มีข้อกำหนดเช่นนี้ ผู้ให้บริการ ยิ่งจ่ายค่าบริการสูงเท่าไหร่ ก็ยิ่งจะกำหนดค่าบริการได้สูงเท่านั้น เมื่อรวมกับข้อแรกที่ไม่กำหนดคุณภาพการให้บริการ หากเอกชนจะใช้เครื่องมือทางการตลาดช่วย ก็สามารถกำหนดราคาให้ต่ำได้ แต่คุณภาพการให้บริการ หรือสัญญาณจะต่ำลง เหมือนเช่นในปัจจุบัน ประเด็นที่ 3.เรื่องเงื่อนไขการบริการสำหรับผู้ด้อยโอกาส เมื่อผู้ให้บริการเปิดให้บริการแล้ว จะต้องเปิดให้บริการกับผู้ด้อยโอกาส หรือ คนยากจนในชนบท ซึ่งประเด็นนี้ ในต่างประเทศ สามารถกำหนดได้เลยก่อนประมูล แต่ กสทช.ไม่ได้ทำ หากเป็นเช่นนี้ ผู้ประมูลได้ก็ไม่มีความจำเป็นต้องทำ
และประเด็นสุดท้าย คือ กสทช. ไม่มีระเบียบใดๆ กำหนดรายได้จากการประมูลที่ชัดเจน ว่าจะนำประโยชน์ให้กับประชาชนอย่างไร เพราะไม่มีกฎหมายกำหนด แต่ขึ้นอยู่กับว่าจะใช้ทำอะไรก็ได้ และการประมูลคลื่นความถี่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสูดอย่างไร เช่น การสร้างเสริมใช้จ่ายในสาธารณะ และเป็นไปตามที่ พ.ร.บ. กสทช. กำหนด และที่สำคัญจะเอาเข้ารัฐ หรือไม่เข้ารัฐก็ยังไม่ชัดเจน
ดร.อนุภาพ กล่าวว่า จากทั้งหมดจะเห็นชัดเจนว่า ประชาชนเป็นเจ้าของคลื่นความถี่ แต่การประมูลคลื่นความถี่ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด จึงจะขอให้ศาลสั่งระงับการประมูลไว้ก่อน จนกว่า กสทช.จะได้จัดทำเงื่อนไขการประมูลที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน
น.พ.ประ วิทย์ ลี่สถาพรวงศา กสทช.คุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม กล่าวว่า ประเด็นการฟ้องนั้น ไม่น่าจะมีน้ำหนักพอที่ทำให้ศาลรับไว้ ขณะเดียวกัน ดร.อนุภาพ ก็ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการประมูล เพราะจะเห็นได้จากการฟ้องระงับการประมูลเมื่อปีพ.ศ. 2553 คนที่ฟ้องจะต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่เสียประโยชน์ เช่น บริษัท กสท.โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เท่านั้น
สำหรับ แผนการประมูล 3จี ของกสทช. หลังจากเปิดรับหนังสือและเอกสารเพื่อขอเข้าร่วมประมูลใบอนุญาต 3จี เมื่อวันที่ 28 ก.ย.ที่ผ่านมา ซึ่งมี 3 บริษัทที่ยื่นเอกสาร คือ บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ตเวิร์ก, บริษัท ดีแทค เนทเวอร์ค จำกัด และบริษัท เรียล ฟิวเจอร์ โดยตามกำหนดการวันที่ 9 ต.ค.นี้กสทช.จะประกาศรายชื่อผู้ที่มีคุณสมบัติพร้อมเข้าร่วมประมูลอย่างเป็น ทางการ และจะจัดประมูล 3จีวันที่ 16 ต.ค.นี้ ที่สำนักงาน กสทช.
นอก จากนี้ วันนี้ (7 ต.ค.) เป็นวันครบรอบ 1 ปีในการดำรงตำแหน่งของกสทช.ทั้ง 11 คน หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งกสทช. ทั้ง 11 คน เมื่อวันที่ 7 ต.ค.2554.
เดลินิวส์
http://www.dailynews.co.th/technology/159468
ไม่มีความคิดเห็น: