22 ตุลาคม 2555 (เกาะติดประมูล3G) กสทช. จี้ 3 ค่ายทำ CSR ลดค่าใช้บริการ 15-20% ตั้งแต่ปีแรก ไม่ทำไม่ออกใบอนุญาต 3G
ประเด็นหลัก
พล.อ.อ.ธเรศ ปุณศรี ประธาน กสทช. ร่วมกับ พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานกสทช.และประธานกทค.,พล.อ.สุกิจ ขมะสุนทร กสทช., นายสุทธิพล ทวีชัยการ กสทช. และนายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการ กสทช. ได้ประกาศเจตนารมณ์ต่อสาธารณชนในการคุ้มครองผู้ใช้บริการประกอบด้วย 1.จะมีการกำกับดูแลอัตราค่าบริการทั้งประเภทเสียง และข้อมูลของบริการ 3G บนย่านความถี่ 2.1GHz ให้ลดลงไม่น้อยกว่า 15-20% ของอัตราค่าบริการในปัจจุบัน
2.จะกำกับดูแลให้คุณภาพการให้บริการเป็นไปตามประกาศกสทช.เรื่องมาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูลบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และให้มีมาตรการติดตามคุณภาพของการให้บริการอย่างต่อเนื่อง 3.จะกำกับดูแลให้ผู้รับใบอนุญาตจัดทำแผนความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และแผนคุ้มครองผู้บริโภคก่อนเริ่มให้บริการ 4. สำนักงานกสทช.จะมีการตรวจสอบเอกสารรายละเอียด และพฤติกรรมการเสนอราคาของผู้เข้าร่วมประมูลในระหว่างการประมูลคลื่นความถี่ 2.1GHz ที่มีขึ้นเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2555
5.จะมีการปรับปรุงกระบวนการรับเรื่องและพิจารณาเรื่องร้องเรียน ตามประกาศ กทช.เรื่อง การรับเรื่องร้องเรียน และกระบวนการพิจารณาเรื่องร้องเรียน พ.ศ.2549 โดยเน้นกระบวนการในการพิจารณาและแก้ไขปัญหาของประชาชนให้ทันท่วงที และ 6.จะมีการใช้กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตามระเบียบ กสทช.ว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทร คมนาคม และผู้ร้องเรียนพ.ศ.2555 ให้เกิดประสิทธิภาพ และสร้างความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย
โดยเฉพาะใน 3 ข้อแรกนั้น ผู้ประกอบการทั้ง3รายจะต้องยอมรับในเงื่อนไข และต้องปฏิบัติตาม ไม่เช่นนั้นกทค.จะไม่ออกใบอนุญาตให้
2.จะกำกับดูแลให้คุณภาพการให้บริการเป็นไปตามประกาศกสทช.เรื่องมาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูลบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และให้มีมาตรการติดตามคุณภาพของการให้บริการอย่างต่อเนื่อง 3.จะกำกับดูแลให้ผู้รับใบอนุญาตจัดทำแผนความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และแผนคุ้มครองผู้บริโภคก่อนเริ่มให้บริการ 4. สำนักงานกสทช.จะมีการตรวจสอบเอกสารรายละเอียด และพฤติกรรมการเสนอราคาของผู้เข้าร่วมประมูลในระหว่างการประมูลคลื่นความถี่ 2.1GHz ที่มีขึ้นเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2555
5.จะมีการปรับปรุงกระบวนการรับเรื่องและพิจารณาเรื่องร้องเรียน ตามประกาศ กทช.เรื่อง การรับเรื่องร้องเรียน และกระบวนการพิจารณาเรื่องร้องเรียน พ.ศ.2549 โดยเน้นกระบวนการในการพิจารณาและแก้ไขปัญหาของประชาชนให้ทันท่วงที และ 6.จะมีการใช้กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตามระเบียบ กสทช.ว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทร คมนาคม และผู้ร้องเรียนพ.ศ.2555 ให้เกิดประสิทธิภาพ และสร้างความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย
โดยเฉพาะใน 3 ข้อแรกนั้น ผู้ประกอบการทั้ง3รายจะต้องยอมรับในเงื่อนไข และต้องปฏิบัติตาม ไม่เช่นนั้นกทค.จะไม่ออกใบอนุญาตให้
การวิธีคำนวณผลประโยชน์จากการใช้บริการที่ลดลงคำนวณมาจาก 3 เรื่องหลัก ได้แก่ 1)อ้างอิงจากค่าบริการ 3G ในปัจจุบันของผู้ให้บริการ 3 รายในปัจจุบัน คือ AIS , DTAC และ TURE move ในอัตราเหมาจ่ายประมาณ 899 บาทต่อเดือน 2) กำหนดให้อัตราค่าบริการในปีที่ 1 ลดลงร้อยละ 10 ปีที่ 2 ลดลงร้อยละ 15 และปีที่ 3 ลดลงร้อยละ 20 ทั้งนี้ หากมีการแข่งขันกันสูงในอนาคตเอกชนสามารถลดลงกว่าร้อยละ 15-20 ได้ เพราะอัตราดังกล่าวที่กสทช.กำหนดระบุชัดเจนว่าไม่น้อยกว่า แต่สามารถต่ำกว่าได้
3) นำมูลค่าของอัตราค่าบริการที่ลดลงมาคูณกับจำนวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ของผู้ให้บริการ 3G ในช่วงระยะเวลา 3 ปี ภายหลังจากการเปิดให้บริการ ซึ่งจะทำให้ได้ผลลัพธ์ของประโยชน์โดยรวมที่ผู้ใช้บริการทั้งประเทศได้รับจากการลดลงของอัตราค่าบริการ 3G
_________________________________________________
กสทช.ยัน
เอกชนไม่ลดค่าบริการ 15-20% ไม่ออกใบอนุญาต 3G
กสทช.ย้ำ หาก 3 ค่ายมือถือไม่ลดค่าบริการ 3G ลง 15-20%
จะไม่ออกใบอนุญาตให้เด็ดขาด
ระบุ หากลด 15% ผู้บริโภคได้ประโยชน์ 54,855 ล้านบาทต่อปี
พล.อ.อ.ธเรศ ปุณศรี ประธาน กสทช. ร่วมกับ พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
รองประธานกสทช.และประธานกทค.,พล.อ.สุกิจ ขมะสุนทร กสทช., นายสุทธิพล
ทวีชัยการ กสทช. และนายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการ กสทช.
ได้ประกาศเจตนารมณ์ต่อสาธารณชนในการคุ้มครองผู้ใช้บริการประกอบด้วย 1.จะมีการกำกับดูแลอัตราค่าบริการทั้งประเภทเสียง
และข้อมูลของบริการ 3G บนย่านความถี่ 2.1GHz ให้ลดลงไม่น้อยกว่า 15-20% ของอัตราค่าบริการในปัจจุบัน
2.จะกำกับดูแลให้คุณภาพการให้บริการเป็นไปตามประกาศกสทช.เรื่องมาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูลบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และให้มีมาตรการติดตามคุณภาพของการให้บริการอย่างต่อเนื่อง 3.จะกำกับดูแลให้ผู้รับใบอนุญาตจัดทำแผนความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และแผนคุ้มครองผู้บริโภคก่อนเริ่มให้บริการ 4. สำนักงานกสทช.จะมีการตรวจสอบเอกสารรายละเอียด และพฤติกรรมการเสนอราคาของผู้เข้าร่วมประมูลในระหว่างการประมูลคลื่นความถี่ 2.1GHz ที่มีขึ้นเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2555
5.จะมีการปรับปรุงกระบวนการรับเรื่องและพิจารณาเรื่องร้องเรียน ตามประกาศ กทช.เรื่อง การรับเรื่องร้องเรียน และกระบวนการพิจารณาเรื่องร้องเรียน พ.ศ.2549 โดยเน้นกระบวนการในการพิจารณาและแก้ไขปัญหาของประชาชนให้ทันท่วงที และ 6.จะมีการใช้กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตามระเบียบ กสทช.ว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทร คมนาคม และผู้ร้องเรียนพ.ศ.2555 ให้เกิดประสิทธิภาพ และสร้างความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย
โดยเฉพาะใน 3 ข้อแรกนั้น ผู้ประกอบการทั้ง3รายจะต้องยอมรับในเงื่อนไข และต้องปฏิบัติตาม ไม่เช่นนั้นกทค.จะไม่ออกใบอนุญาตให้
ด้านนายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการ กสทช.กล่าวว่า ในส่วนอัตราค่าบริการที่กสทช.จะมีการกำกับให้ลดลงไม่น้อยกว่า 15-20% ทั้งบริการประเภทเสียง และข้อมูลของใบอนุญาต 3G บนย่านความถี่ 2.1 GHzจากอัตราค่าบริการในปัจจุบันนั้น กสทช.ได้คิดคำนวนจาก3ปัจจัย คือ 1.อ้างอิงจากอัตราค่าบริการ 3G ในปัจจุบันของเอไอเอส ดีแทค และทรูมูฟ ในราคาประมาณ 899 บาทต่อเดือน 2. กำหนดให้อัตราค่าบริการในปีที่1 ลดลง10% ปีที่2 ลดลง 15% ปีที่3 ลดลง20% 3.นำมูลค่าของอัตราค่าบริการที่ลดลงมาคูณกับจำนวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ของผู้ได้รับใยอนุญาต3Gในช่วงระยะเวลา3ปี ภายหลังจากเปิดให้บริการ
ผลประโยชน์ที่ผู้บริโภคจะได้รับจากการลดอัตราค่าบริการในอัตรา 15% เฉลี่ยต่อเดือนแล้วประมาณ 4,571.25 ล้านบาท หรือต่อปี 54,855 ล้านบาท สรุป 15 ปีของใบอนุญาตจะมีผลประโยชน์รวม 822,825 ล้านบาท ส่วนหากลดอัตราค่าบริการในอัตรา 20% เฉลี่ยต่อเดือนแล้วลดลงประมาณ 6,095.55 ล้านบาท ต่อปีลดลง 73,142.64 ล้านบาท และสรุป15ปีของใบอนุญาตจะมีผลประโยชน์รวม 1.09 ล้านล้านบาท
2.จะกำกับดูแลให้คุณภาพการให้บริการเป็นไปตามประกาศกสทช.เรื่องมาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูลบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และให้มีมาตรการติดตามคุณภาพของการให้บริการอย่างต่อเนื่อง 3.จะกำกับดูแลให้ผู้รับใบอนุญาตจัดทำแผนความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และแผนคุ้มครองผู้บริโภคก่อนเริ่มให้บริการ 4. สำนักงานกสทช.จะมีการตรวจสอบเอกสารรายละเอียด และพฤติกรรมการเสนอราคาของผู้เข้าร่วมประมูลในระหว่างการประมูลคลื่นความถี่ 2.1GHz ที่มีขึ้นเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2555
5.จะมีการปรับปรุงกระบวนการรับเรื่องและพิจารณาเรื่องร้องเรียน ตามประกาศ กทช.เรื่อง การรับเรื่องร้องเรียน และกระบวนการพิจารณาเรื่องร้องเรียน พ.ศ.2549 โดยเน้นกระบวนการในการพิจารณาและแก้ไขปัญหาของประชาชนให้ทันท่วงที และ 6.จะมีการใช้กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตามระเบียบ กสทช.ว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทร คมนาคม และผู้ร้องเรียนพ.ศ.2555 ให้เกิดประสิทธิภาพ และสร้างความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย
โดยเฉพาะใน 3 ข้อแรกนั้น ผู้ประกอบการทั้ง3รายจะต้องยอมรับในเงื่อนไข และต้องปฏิบัติตาม ไม่เช่นนั้นกทค.จะไม่ออกใบอนุญาตให้
ด้านนายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการ กสทช.กล่าวว่า ในส่วนอัตราค่าบริการที่กสทช.จะมีการกำกับให้ลดลงไม่น้อยกว่า 15-20% ทั้งบริการประเภทเสียง และข้อมูลของใบอนุญาต 3G บนย่านความถี่ 2.1 GHzจากอัตราค่าบริการในปัจจุบันนั้น กสทช.ได้คิดคำนวนจาก3ปัจจัย คือ 1.อ้างอิงจากอัตราค่าบริการ 3G ในปัจจุบันของเอไอเอส ดีแทค และทรูมูฟ ในราคาประมาณ 899 บาทต่อเดือน 2. กำหนดให้อัตราค่าบริการในปีที่1 ลดลง10% ปีที่2 ลดลง 15% ปีที่3 ลดลง20% 3.นำมูลค่าของอัตราค่าบริการที่ลดลงมาคูณกับจำนวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ของผู้ได้รับใยอนุญาต3Gในช่วงระยะเวลา3ปี ภายหลังจากเปิดให้บริการ
ผลประโยชน์ที่ผู้บริโภคจะได้รับจากการลดอัตราค่าบริการในอัตรา 15% เฉลี่ยต่อเดือนแล้วประมาณ 4,571.25 ล้านบาท หรือต่อปี 54,855 ล้านบาท สรุป 15 ปีของใบอนุญาตจะมีผลประโยชน์รวม 822,825 ล้านบาท ส่วนหากลดอัตราค่าบริการในอัตรา 20% เฉลี่ยต่อเดือนแล้วลดลงประมาณ 6,095.55 ล้านบาท ต่อปีลดลง 73,142.64 ล้านบาท และสรุป15ปีของใบอนุญาตจะมีผลประโยชน์รวม 1.09 ล้านล้านบาท
moneychannel
http://www.moneychannel.co.th/index.php/2012-06-30-12-32-32/5267-15-20-3g
________________________________________________________
ประชาชนได้เฮ ! ฟันธงค่าบริการ 3G ถูกลง 15-20% เฉลี่ยถูกลง 6,095 ล้านบาทต่อเดือน
พันเอก ดร.เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) กล่าวว่า เพื่อเป็นการคุ้มครองผลประโยชน์สูงสุดของประเทศไทยและประชาชนทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ตามเจตนารม์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กทค.จึงขอประกาศเจตนารมณ์ต่อสาธารณชนในการคุ้มครองผู้ใช้บริการ
ได้แก่ จะกำกับดูแลอัตราค่าบริการทั้งประเภทเสียงและข้อมูลของบริการ 3G บนผ่านความถี่ 2.1 GHz ให้ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 15-20 ของอัตราค่าบริการในปัจจุบัน ภายใน 15 ปี จะส่งผลให้ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G โดยรวมทั้งประเทศได้รับประโยชน์จากการมีค่าบริการที่ถูกลงสามารถประหยัดค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลจากต้นทุนในการให้บริการที่ลดลง และระดับการแข่งขันที่เพิ่มมากขึ้นในตลาดโดยผลประโยชน์ดังกล่าวคิดเป็นมูลค่าเฉลี่ยประมาณ 4,571.25 ล้านบาทต่อเดือน หรือ 54,855 ล้านบาทต่อปี ซึ่งคิดเป็นผลประโยชน์ทั้งหมดประมาณ 822,825 ล้านบาท ภายในระยะเวลา 15 ปี
ทั้งนี้ การวิธีคำนวณผลประโยชน์จากการใช้บริการที่ลดลงคำนวณมาจาก 3 เรื่องหลัก ได้แก่ 1)อ้างอิงจากค่าบริการ 3G ในปัจจุบันของผู้ให้บริการ 3 รายในปัจจุบัน คือ AIS , DTAC และ TURE move ในอัตราเหมาจ่ายประมาณ 899 บาทต่อเดือน 2) กำหนดให้อัตราค่าบริการในปีที่ 1 ลดลงร้อยละ 10 ปีที่ 2 ลดลงร้อยละ 15 และปีที่ 3 ลดลงร้อยละ 20 ทั้งนี้ หากมีการแข่งขันกันสูงในอนาคตเอกชนสามารถลดลงกว่าร้อยละ 15-20 ได้ เพราะอัตราดังกล่าวที่กสทช.กำหนดระบุชัดเจนว่าไม่น้อยกว่า แต่สามารถต่ำกว่าได้
3) นำมูลค่าของอัตราค่าบริการที่ลดลงมาคูณกับจำนวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ของผู้ให้บริการ 3G ในช่วงระยะเวลา 3 ปี ภายหลังจากการเปิดให้บริการ ซึ่งจะทำให้ได้ผลลัพธ์ของประโยชน์โดยรวมที่ผู้ใช้บริการทั้งประเทศได้รับจากการลดลงของอัตราค่าบริการ 3G
สำหรับผลประโยชน์ที่ผู้บริโภคจะได้รับ หากเฉลี่ยออกมาต่อเดือนจะตกประมาณ 6,095.22 ล้านบาท หรือคิดเป็นรายปีประมาณ 73,142.64 ล้านบาท ทั้งนี้ หากรวมผลประโยชน์ที่ผุ้บริโภคจะได้รับในช่วง 3 ปีจะเท่ากับ 219,427.92 ล้านบาท
มติชน
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1350884790&grpid=03&catid=03
ไม่มีความคิดเห็น: