22 ตุลาคม 2555 (เกาะติดประมูล3G) (บทความ)ปิดจ็อบ3จีจบไม่ลงTDRI -'สุภิญญา'ลุยล้ม ( CAT + TOT ห้ามเก็บไว้เอง )
ประเด็นหลัก
*** 'สุภิญญา'ทวิตไม่เห็นด้วย
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการ กสทช. ได้ทวิตข้อความ@Supinya ว่า "เรากำลังปลดล็อกค่าต๋งเรื่องเสือนอนกินในระบบสัมปทานได้แล้ว เราก็อยากให้ระบบใบอนุญาตเริ่มต้นได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีหลักประกันให้ผู้บริโภคเรากำลังปลดล็อกค่าต๋งเรื่องเสือนอนกินในระบบสัมปทานได้แล้ว เราก็อยากให้ระบบใบอนุญาตเริ่มต้นได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีหลักประกันให้ผู้บริโภค 3 ปีที่แล้ว บอก กทช.ไม่มีอำนาจประมูล มาปีนี้สุดท้ายบอร์ดกระจายเสียงใน กสทช.ก็ไม่มีอำนาจร่วมโหวตอยู่ดี ถ้าบอร์ด กทค.ปิดจ็อบ(วันที่ 18 ตุลาคม 2555)
วันนี้ เอง ปีนี้ รัฐวิสาหกิจไม่ตื่นเต้นแล้ว เพราะอย่างไรก็จะเก็บค่าสัมปทานเอาไว้ไม่ได้ ก็ต้องส่งคืนคลัง แต่สูตรประมูล กสทช.มามีปัญหาอีก 3 ปีที่แล้ว ดิฉันเลยโกรธที่รัฐวิสาหกิจลุกขึ้นมาฟ้องการประมูลโดย กทช. เพราะดิฉันมองว่าตอนนั้น กทช.มีอำนาจทำได้ สูตรการประมูลถือว่าดีแล้ว ตอนนั้น ดร.สมเกียรติและดิฉัน เราอยากให้พ.ร.บ.มีผลเลยทันที (2553) แต่ CAT +TOT ก็เคลื่อนไหวคัดค้าน เลยได้เวลาอีก 3 ปี ซึ่งใกล้จะครบแล้ว ถ้าใครตาม Twitter ดิฉันมาตั้งแต่ปี 2553 จะเห็นว่าตอนนั้นเราพยายามสู้ในกฎหมาย ไม่ให้รัฐวิสาหกิจอย่าง CAT+TOT เก็บค่าต๋งไว้เป็นเสือนอนกินอีก เราทำงานเรื่องนี้กันนานนับ 15ปี เรื่องนี้ไม่มีสีเสื้อ แต่เราสู้กับสิ่งที่เรียกว่า "อำนาจนิยมอุปถัมภ์ - ทุนนิยมอภิสิทธิ์ถ้าวุฒิสภาถอดถอนก็ต้องอำลาไปทั้งคณะ ไม่ว่าจะเสียงข้างมากหรือเสียงข้างน้อย แต่การได้พูดในฐานะเสียงข้างน้อยก็ถือว่าได้แสดงจุดยืนตนเอง หลายท่านที่อาจสงสัยว่าทำไม CAT+TOT ถึงเงียบๆรอบนี้ เพราะไม่ว่าจะประมูลได้หรือไม่ ปีหน้า 2 หน่วยงานนี้ก็ไม่สามารถเก็บค่าต๋งสัมปทานไว้ได้อีกแล้วเพราะว่า บทเฉพาะกาลของ พ.ร.บ.กสทช.ระบุว่าภายใน 3 ปีหลัง พ.ร.บ. CAT + TOT ต้องคืนค่าสัมปทานเข้าคลัง ห้ามเก็บไว้เอง
ดังนั้นข้อเสนอตอนนี้มีอยู่ 2 ทางเลือกเท่านั้น 1. จัดประมูลใหม่โดยไว 2. กำหนดเพดานราคาค่าบริการ ที่บอร์ด กสทช. ต้องเลือก
_________________________________
ปิดจ็อบ3จีจบไม่ลง ทีดีอาร์ไอ-'สุภิญญา'ลุยล้ม
แม้การประมูลใบอนุญาตโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3 จี ย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ กสทช.(คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ) ปิดจ็อบการประมูลไปแล้วเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2555 ที่ผ่านมา
โดยคลื่นความถี่ที่มีทั้งหมด 45 ชุด แบ่งเป็น 9 ชุด
ชุดละ 5 สลอต โดยผู้เสนอราคาทั้ง 3 ราย ได้คลื่นความถี่จำนวนเท่ากัน คือ 15 เมกะเฮิรตซ์ โดยกำหนดราคาประมูลขั้นต่ำไว้ที่ 4,500 ล้านบาท
โดยผู้เสนอราคาประมูลสูงสุด คือ บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด หรือ AWN ประมูลในราคาสูงสุด 14,625 ล้านบาท และมีจำนวน 2 บริษัทเสนอราคาเท่ากันที่จำนวน 13,500 ล้านบาท คือ บริษัท เรียล ฟิวเจอร์ จำกัด และ บริษัท ดีแทค เนทเวอร์ค จำกัด หรือ ดีทีเอ็น รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 41,625 ล้านบาท สูงกว่าราคาตั้งต้นเพียง 1,125 ล้านบาท หรือประมาณ 2.78% ผู้ชนะประมูล 3G ต้องจ่ายเงินงวดแรก 50%ของเงินที่ประมูลได้ ใน 90 วัน และจะได้ใบอนุญาตครอบครองคลื่น 15 ปีทันทีภายใน 7 วัน
อย่างไรก็ตามใบอนุญาต 3 จีในครั้งนี้มีอายุ 15 ปี เมื่อบวกลบคูณหารแล้วปรากฏว่า AWN จ่ายค่าใบอนุญาตปีละ 957 ล้านบาท, เรียลฟิวเจอร์ และ ดีทีเอ็น จ่ายค่าใบอนุญาตปีละ 900 ล้านบาท
เมื่อจบการประมูล กสทช.ประกาศออกมาอย่างเป็นทางการแทนที่เกมนี้จะจบลงด้วยดีกลับถูกตั้งคำถาม กรณีราคาประมูลถูกแสนถูกเหมือนให้เปล่า...หากเปรียบเทียบกับผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เอไอเอส-ดีแทค และ ทรูมูฟ จ่ายผลประโยชน์ขั้นต่ำให้กับ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) และ บริษัท กสท.โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) รวมทั้งสิ้น 48,000 ล้านบาทต่อปี
*** "สมเกียรติ" ชี้ลาภลอย
อย่างไรก็ตามเมื่อการประมูลสิ้นสุดลงคลื่นลมถาโถมพุ่งตรงมายัง กสทช. เลยทีเดียว โดย ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันทีดีอาร์ไอ (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย) ออกมาถล่มเรื่องการประมูลในครั้งนี้ว่า ผลการประมูลคลื่น 3G เป็นไปตามที่คาดหมาย คือ ได้ราคาเพิ่มขึ้นจากราคาตั้งต้นเพียงเล็กน้อยคือประมาณ 2.8% เท่านั้น คือ เพิ่มจากราคาตั้งต้นโดยรวม 9 ใบ ที่ 40,500 ล้านบาท เป็นเพียง 41,650 ล้านบาทเท่านั้น โดยมีคลื่น 6 ชุดที่มีราคาประมูลเท่ากับราคาตั้งต้น
การประมูลครั้งนี้แม้จะทำให้ประชาชนมีบริการ 3G ใช้กันอย่างเต็มรูปแบบในปีหน้า แต่ก็ทำให้เกิดความเสียหายต่อรัฐและประชาชนในฐานะผู้เสียภาษี เมื่อเทียบจากราคาประเมินถึง 16,335 ล้านบาท โดยผู้ประกอบการทั้งสามรายได้ประโยชน์จากส่วนต่างนี้ไปเป็นเสมือน "ลาภลอย" ทั้งนี้ยังไม่รวมประโยชน์ที่ได้จากการลดค่าสัมปทานที่ต้องจ่ายให้รัฐอีกปีละ กว่า 4 หมื่นล้านบาท ที่สำคัญการที่แต่ละรายได้คลื่น 3G มูลค่าถูกแสนถูกต่ำกว่าปีละ 1 พันล้านบาทต่อปี จะไม่มีผลต่ออัตราค่าบริการ 3G ที่ประชาชนต้องจ่ายแต่อย่างใด นอกจากจะเพิ่มกำไรให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทผู้ประกอบการ ดังจะเห็นได้จากราคาหุ้นของผู้ประกอบการที่เพิ่มขึ้น
นอกจากนี้ ผลการประมูลยังชี้ให้เห็นข้อผิดพลาดอย่างร้ายแรงของการออกแบบการประมูล 2 ประการคือ หนึ่ง การจำกัดคลื่นความถี่ที่ผู้ประกอบการแต่ละรายจะสามารถถือครองได้ให้เท่ากัน ทำให้ไม่เกิดการแข่งขันอย่างที่ควรจะเป็น สอง การกำหนดราคาประมูลขั้นต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง ทำให้เกิดความเสียหายมาก เมื่อไม่มีการแข่งขันกันเท่าที่ควร ทั้งนี้ หาก กสทช. ได้รับฟังข้อทักท้วงของฝ่ายต่างๆ ก็จะไม่เกิดข้อผิดพลาดดังกล่าวขึ้น
"ผมจึงขอเรียกร้องให้ กสทช. รับผิดชอบต่อความเสียหายต่อรัฐและประชาชนที่เกิดขึ้น โดยให้แถลงต่อประชาชนว่า จะมีการรับผิดชอบอย่างไร และขอเรียกร้องให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องเข้ามาตรวจสอบ"
*** 'สุภิญญา'ทวิตไม่เห็นด้วย
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการ กสทช. ได้ทวิตข้อความ@Supinya ว่า "เรากำลังปลดล็อกค่าต๋งเรื่องเสือนอนกินในระบบสัมปทานได้แล้ว เราก็อยากให้ระบบใบอนุญาตเริ่มต้นได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีหลักประกันให้ผู้บริโภคเรากำลังปลดล็อกค่าต๋งเรื่องเสือนอนกินในระบบสัมปทานได้แล้ว เราก็อยากให้ระบบใบอนุญาตเริ่มต้นได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีหลักประกันให้ผู้บริโภค 3 ปีที่แล้ว บอก กทช.ไม่มีอำนาจประมูล มาปีนี้สุดท้ายบอร์ดกระจายเสียงใน กสทช.ก็ไม่มีอำนาจร่วมโหวตอยู่ดี ถ้าบอร์ด กทค.ปิดจ็อบ(วันที่ 18 ตุลาคม 2555)
วันนี้ เอง ปีนี้ รัฐวิสาหกิจไม่ตื่นเต้นแล้ว เพราะอย่างไรก็จะเก็บค่าสัมปทานเอาไว้ไม่ได้ ก็ต้องส่งคืนคลัง แต่สูตรประมูล กสทช.มามีปัญหาอีก 3 ปีที่แล้ว ดิฉันเลยโกรธที่รัฐวิสาหกิจลุกขึ้นมาฟ้องการประมูลโดย กทช. เพราะดิฉันมองว่าตอนนั้น กทช.มีอำนาจทำได้ สูตรการประมูลถือว่าดีแล้ว ตอนนั้น ดร.สมเกียรติและดิฉัน เราอยากให้พ.ร.บ.มีผลเลยทันที (2553) แต่ CAT +TOT ก็เคลื่อนไหวคัดค้าน เลยได้เวลาอีก 3 ปี ซึ่งใกล้จะครบแล้ว ถ้าใครตาม Twitter ดิฉันมาตั้งแต่ปี 2553 จะเห็นว่าตอนนั้นเราพยายามสู้ในกฎหมาย ไม่ให้รัฐวิสาหกิจอย่าง CAT+TOT เก็บค่าต๋งไว้เป็นเสือนอนกินอีก เราทำงานเรื่องนี้กันนานนับ 15ปี เรื่องนี้ไม่มีสีเสื้อ แต่เราสู้กับสิ่งที่เรียกว่า "อำนาจนิยมอุปถัมภ์ - ทุนนิยมอภิสิทธิ์ถ้าวุฒิสภาถอดถอนก็ต้องอำลาไปทั้งคณะ ไม่ว่าจะเสียงข้างมากหรือเสียงข้างน้อย แต่การได้พูดในฐานะเสียงข้างน้อยก็ถือว่าได้แสดงจุดยืนตนเอง หลายท่านที่อาจสงสัยว่าทำไม CAT+TOT ถึงเงียบๆรอบนี้ เพราะไม่ว่าจะประมูลได้หรือไม่ ปีหน้า 2 หน่วยงานนี้ก็ไม่สามารถเก็บค่าต๋งสัมปทานไว้ได้อีกแล้วเพราะว่า บทเฉพาะกาลของ พ.ร.บ.กสทช.ระบุว่าภายใน 3 ปีหลัง พ.ร.บ. CAT + TOT ต้องคืนค่าสัมปทานเข้าคลัง ห้ามเก็บไว้เอง
ดังนั้นข้อเสนอตอนนี้มีอยู่ 2 ทางเลือกเท่านั้น 1. จัดประมูลใหม่โดยไว 2. กำหนดเพดานราคาค่าบริการ ที่บอร์ด กสทช. ต้องเลือก
*** หลังประมูลถูกตรวจเข้ม
น.ส.บุญยืน ศิริธรรม ประธานสหพันธ์องค์กรผู้บริโภค (สอบ.) เดินทางเข้ายื่นหนังสือต่อน.ส.สุมล สุตะวิริยะวัฒน์ ส.ว.เพชรบุรี ในฐานะประธานคณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเรื่องทุจริต และเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา เพื่อขอให้ตรวจสอบการฮั้วและธรรมาภิบาลในการประมูล 3 จี เนื่องจากการเปิดประมูลคลื่นความถี่ให้บริการ 3 จีเมื่อวันที่ 16 ต.ค.ที่ผ่านมานั้น อยู่ในสภาพไร้การแข่งขันและอาจจะนำมาซึ่งการฮั้วประมูลและเกิดความเสียหายต่อรัฐอย่างชัดเจน เพราะมีผู้เข้าร่วมประมูลเพียง 3 บริษัทเท่านั้น
ทั้งนี้ สอบ.ขอให้ตรวจสอบว่าการกระทำของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) ที่เป็นผู้จัดประมูล 3 จีนั้น เป็นการกระทำที่อาจก่อให้เกิดการฮั้วประมูล ตามพ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 (พ.ร.บ.ฮั้วประมูล) หรือไม่ และมาตรการคุ้มครองผู้บริโภค เช่น การกำหนดเงื่อนไขให้บริการ การประกาศสัญญามาตรฐานในการให้บริการ และราคาค่าบริการที่เป็นประโยชน์กับผู้บริโภค เพราะผลการประมูลเอื้อประโยชน์กับผู้ให้บริการนั้นราคาต่ำกว่าทรัพย์สิน รวมทั้งแนวทางในการกำหนดกติกาที่ชัดเจนในการให้ผู้ประมูลหรือผู้รับใบอนุญาตในอนาคตใช้โครงข่ายร่วมกันด้วย
วันเดียวกันมีตัวแทนกลุ่มประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการปฏิรูปสื่อ นำโดยนายสุรศักดิ์ ศิริพรอดุลศิลป์ อาจารย์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในฐานะผู้ริเริ่มรวบรวมรายชื่อได้นำรายชื่อประชาชนจำนวน 57,905 คน ยื่นต่อนายนิคม ไวยรัชพานิช ประธานวุฒิสภา เพื่อให้วุฒิสภาถอดถอนคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ทั้ง 11 คน ออกจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญมาตรา 270 (2) เนื่องจากมีพฤติการณ์ 1.ส่อว่าทุจริตต่อหน้าที่ในกรณีการจัดประมูลคลื่นความถี่ 3จี เป็นความผิดตามมาตรา 11 ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 (พ.ร.บ.ฮั้วประมูล) 2.ส่อว่าฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง
3. ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ในตำแหน่งออกประกาศเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 3จี โดยถือว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 47 วรรคสาม ที่ระบุว่าการดำเนินการของ กสทช.จะต้องคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชน ทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น รวมทั้งต้องจัดให้ประชาชนมีส่วนในการดำเนินการสื่อมวลชนสาธารณะ และ 4. ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายโดยใช้อำนาจหน้าที่ในตำแหน่งออกประกาศเรื่องหลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ.2555 โดยใช้กฎหมายอย่างไม่มีความเสมอภาค
วันเดียวกัน นายไพบูลย์ นิติตะวัน ส.ว.สรรหา กล่าวว่า ในการประชุม กมธ.ศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริตและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา ตนในฐานะกรรมาธิการฯ จะยื่นประเด็นตรวจสอบการประมูล 3จี ของ กสทช. ให้ กมธ.พิจารณาและตรวจสอบ เพราะมีความเป็นไปได้ว่า จะมีการฮั้วประมูล เบื้องต้นตนจะเสนอให้มีรายงานการประชุมเรื่องประมูล 3จี ของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) ในรอบ 3 เดือนย้อนหลัง ทั้งนี้ ตนขอเรียกร้องให้ กทค.อย่าเพิ่งพิจารณารับรองผลการประมูล 3จี ควรรอให้ฝ่ายที่ตรวจสอบ และศาลมีคำวินิจฉัยก่อน
แม้ตอนนี้ กสทช.ปิดจ็อบประมูลไปเรียบร้อยแล้ว แต่กระแสของมวลชนยังตั้งคำถาม? เรื่องราคาที่รับไม่ได้ จนนำไปสู่ของการยื่นฟ้องถอดถอน กสทช. เรื่องประมูล 3 จี คงไม่จบง่ายๆ เพราะ กสทช. ทั้ง 11 คน โดยเฉพาะคณะอนุกรรมการ กทค. 5 คน จะต้องตอบสังคมและถูกตรวจสอบอย่างเข้มข้นเช่นกัน
กทค. 4 ต่อ 1 รับมติประมูล 3 จี
เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2555 ที่ผ่านมา กทค.(คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ) มีการประชุมเพื่อลงมติรับการประมูล 3 จี และมีการถ่ายทอดเสียงผ่านทางห้องประชุมมายังห้องสื่อมวลชน โดยมีผู้เข้าประชุม 5 คน คือ พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ประธาน กทค., นายสุทธิพล ทวีชัยการ,น.พ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา, พล.อ.สุกิจ ขมะสุนทร และรศ.ประเสริฐ ศีลพิพัฒน์
ปรากฏว่าการถ่ายทอดเสียงการประชุมเพื่อลงคะแนนโหวตบอร์ดเสียงแตกระหว่าง น.พ.ประวิทย์ กับ นายสุทธิพล ซึ่ง น.พ. ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กรรมการ กทค. เรียกร้องขอดูเอกสารการเคาะราคาของทุกบริษัททั้ง 7 รอบเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจก่อนลงมติรับรองผลการประมูล 3G เพราะทำให้รู้ได้ว่าฮั้วหรือไม่ พร้อมกับระบุเอกสารการศึกษาของคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯระบุว่ามูลค่าคลื่นความถี่ที่แท้จริงอยู่ที่ 6,676 ล้านบาท ไม่ใช่ 6,440 ล้านบาท
ขณะที่นายสุทธิพล กล่าวว่า ประชาชนรอใช้ 3จีใจจดใจจ่อ แต่กังวลกลัว กสทช.ทุจริต เอื้อประโยชน์ให้ผู้ประกอบการ ตอนนี้ ลือว่ากสทช. 9 คนถูกซื้อตัวแล้วเสียง สุทธิพล"ผมเสียใจที่ก.ก.คนหนึ่งไปให้ข่าวว่า ไม่เห็นด้วยที่กทค.ปรับหลักเกณฑ์เหลือ 15เมกะ และมีราคา 4,500 ล้านบาทแต่นี่คือมติก.ก.ส่วนใหญ่"
แต่อย่างไรก็ตามผลการลงมติปรากฏว่า พล.อ.สุกิจ ขมะสุนทร ลงมติคนแรก ตามมาด้วยรศ.ประเสริฐ ศีลพิพัฒน์ ,นายสุทธิพล ทวีชัยการ ขณะที่ น.พ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กล่าวว่า "ไม่สามารถลงมติได้ครับเพราะไม่เห็นข้อมูลการประมูล 3G” และ พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ทำให้การลงมติครั้งนี้มีเสียง 4:1 เห็นชอบการประมูล 3 G และจะเสนอบอร์ดใหญ่ ของ กสทช.ลงมติรับทราบในภายหลัง
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ
http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=149224:3--&catid=123:2009-02-08-11-44-33&Itemid=491
*** 'สุภิญญา'ทวิตไม่เห็นด้วย
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการ กสทช. ได้ทวิตข้อความ@Supinya ว่า "เรากำลังปลดล็อกค่าต๋งเรื่องเสือนอนกินในระบบสัมปทานได้แล้ว เราก็อยากให้ระบบใบอนุญาตเริ่มต้นได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีหลักประกันให้ผู้บริโภคเรากำลังปลดล็อกค่าต๋งเรื่องเสือนอนกินในระบบสัมปทานได้แล้ว เราก็อยากให้ระบบใบอนุญาตเริ่มต้นได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีหลักประกันให้ผู้บริโภค 3 ปีที่แล้ว บอก กทช.ไม่มีอำนาจประมูล มาปีนี้สุดท้ายบอร์ดกระจายเสียงใน กสทช.ก็ไม่มีอำนาจร่วมโหวตอยู่ดี ถ้าบอร์ด กทค.ปิดจ็อบ(วันที่ 18 ตุลาคม 2555)
วันนี้ เอง ปีนี้ รัฐวิสาหกิจไม่ตื่นเต้นแล้ว เพราะอย่างไรก็จะเก็บค่าสัมปทานเอาไว้ไม่ได้ ก็ต้องส่งคืนคลัง แต่สูตรประมูล กสทช.มามีปัญหาอีก 3 ปีที่แล้ว ดิฉันเลยโกรธที่รัฐวิสาหกิจลุกขึ้นมาฟ้องการประมูลโดย กทช. เพราะดิฉันมองว่าตอนนั้น กทช.มีอำนาจทำได้ สูตรการประมูลถือว่าดีแล้ว ตอนนั้น ดร.สมเกียรติและดิฉัน เราอยากให้พ.ร.บ.มีผลเลยทันที (2553) แต่ CAT +TOT ก็เคลื่อนไหวคัดค้าน เลยได้เวลาอีก 3 ปี ซึ่งใกล้จะครบแล้ว ถ้าใครตาม Twitter ดิฉันมาตั้งแต่ปี 2553 จะเห็นว่าตอนนั้นเราพยายามสู้ในกฎหมาย ไม่ให้รัฐวิสาหกิจอย่าง CAT+TOT เก็บค่าต๋งไว้เป็นเสือนอนกินอีก เราทำงานเรื่องนี้กันนานนับ 15ปี เรื่องนี้ไม่มีสีเสื้อ แต่เราสู้กับสิ่งที่เรียกว่า "อำนาจนิยมอุปถัมภ์ - ทุนนิยมอภิสิทธิ์ถ้าวุฒิสภาถอดถอนก็ต้องอำลาไปทั้งคณะ ไม่ว่าจะเสียงข้างมากหรือเสียงข้างน้อย แต่การได้พูดในฐานะเสียงข้างน้อยก็ถือว่าได้แสดงจุดยืนตนเอง หลายท่านที่อาจสงสัยว่าทำไม CAT+TOT ถึงเงียบๆรอบนี้ เพราะไม่ว่าจะประมูลได้หรือไม่ ปีหน้า 2 หน่วยงานนี้ก็ไม่สามารถเก็บค่าต๋งสัมปทานไว้ได้อีกแล้วเพราะว่า บทเฉพาะกาลของ พ.ร.บ.กสทช.ระบุว่าภายใน 3 ปีหลัง พ.ร.บ. CAT + TOT ต้องคืนค่าสัมปทานเข้าคลัง ห้ามเก็บไว้เอง
ดังนั้นข้อเสนอตอนนี้มีอยู่ 2 ทางเลือกเท่านั้น 1. จัดประมูลใหม่โดยไว 2. กำหนดเพดานราคาค่าบริการ ที่บอร์ด กสทช. ต้องเลือก
_________________________________
ปิดจ็อบ3จีจบไม่ลง ทีดีอาร์ไอ-'สุภิญญา'ลุยล้ม
แม้การประมูลใบอนุญาตโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3 จี ย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ กสทช.(คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ) ปิดจ็อบการประมูลไปแล้วเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2555 ที่ผ่านมา
โดยคลื่นความถี่ที่มีทั้งหมด 45 ชุด แบ่งเป็น 9 ชุด
ชุดละ 5 สลอต โดยผู้เสนอราคาทั้ง 3 ราย ได้คลื่นความถี่จำนวนเท่ากัน คือ 15 เมกะเฮิรตซ์ โดยกำหนดราคาประมูลขั้นต่ำไว้ที่ 4,500 ล้านบาท
โดยผู้เสนอราคาประมูลสูงสุด คือ บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด หรือ AWN ประมูลในราคาสูงสุด 14,625 ล้านบาท และมีจำนวน 2 บริษัทเสนอราคาเท่ากันที่จำนวน 13,500 ล้านบาท คือ บริษัท เรียล ฟิวเจอร์ จำกัด และ บริษัท ดีแทค เนทเวอร์ค จำกัด หรือ ดีทีเอ็น รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 41,625 ล้านบาท สูงกว่าราคาตั้งต้นเพียง 1,125 ล้านบาท หรือประมาณ 2.78% ผู้ชนะประมูล 3G ต้องจ่ายเงินงวดแรก 50%ของเงินที่ประมูลได้ ใน 90 วัน และจะได้ใบอนุญาตครอบครองคลื่น 15 ปีทันทีภายใน 7 วัน
อย่างไรก็ตามใบอนุญาต 3 จีในครั้งนี้มีอายุ 15 ปี เมื่อบวกลบคูณหารแล้วปรากฏว่า AWN จ่ายค่าใบอนุญาตปีละ 957 ล้านบาท, เรียลฟิวเจอร์ และ ดีทีเอ็น จ่ายค่าใบอนุญาตปีละ 900 ล้านบาท
เมื่อจบการประมูล กสทช.ประกาศออกมาอย่างเป็นทางการแทนที่เกมนี้จะจบลงด้วยดีกลับถูกตั้งคำถาม กรณีราคาประมูลถูกแสนถูกเหมือนให้เปล่า...หากเปรียบเทียบกับผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เอไอเอส-ดีแทค และ ทรูมูฟ จ่ายผลประโยชน์ขั้นต่ำให้กับ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) และ บริษัท กสท.โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) รวมทั้งสิ้น 48,000 ล้านบาทต่อปี
*** "สมเกียรติ" ชี้ลาภลอย
อย่างไรก็ตามเมื่อการประมูลสิ้นสุดลงคลื่นลมถาโถมพุ่งตรงมายัง กสทช. เลยทีเดียว โดย ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันทีดีอาร์ไอ (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย) ออกมาถล่มเรื่องการประมูลในครั้งนี้ว่า ผลการประมูลคลื่น 3G เป็นไปตามที่คาดหมาย คือ ได้ราคาเพิ่มขึ้นจากราคาตั้งต้นเพียงเล็กน้อยคือประมาณ 2.8% เท่านั้น คือ เพิ่มจากราคาตั้งต้นโดยรวม 9 ใบ ที่ 40,500 ล้านบาท เป็นเพียง 41,650 ล้านบาทเท่านั้น โดยมีคลื่น 6 ชุดที่มีราคาประมูลเท่ากับราคาตั้งต้น
การประมูลครั้งนี้แม้จะทำให้ประชาชนมีบริการ 3G ใช้กันอย่างเต็มรูปแบบในปีหน้า แต่ก็ทำให้เกิดความเสียหายต่อรัฐและประชาชนในฐานะผู้เสียภาษี เมื่อเทียบจากราคาประเมินถึง 16,335 ล้านบาท โดยผู้ประกอบการทั้งสามรายได้ประโยชน์จากส่วนต่างนี้ไปเป็นเสมือน "ลาภลอย" ทั้งนี้ยังไม่รวมประโยชน์ที่ได้จากการลดค่าสัมปทานที่ต้องจ่ายให้รัฐอีกปีละ กว่า 4 หมื่นล้านบาท ที่สำคัญการที่แต่ละรายได้คลื่น 3G มูลค่าถูกแสนถูกต่ำกว่าปีละ 1 พันล้านบาทต่อปี จะไม่มีผลต่ออัตราค่าบริการ 3G ที่ประชาชนต้องจ่ายแต่อย่างใด นอกจากจะเพิ่มกำไรให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทผู้ประกอบการ ดังจะเห็นได้จากราคาหุ้นของผู้ประกอบการที่เพิ่มขึ้น
นอกจากนี้ ผลการประมูลยังชี้ให้เห็นข้อผิดพลาดอย่างร้ายแรงของการออกแบบการประมูล 2 ประการคือ หนึ่ง การจำกัดคลื่นความถี่ที่ผู้ประกอบการแต่ละรายจะสามารถถือครองได้ให้เท่ากัน ทำให้ไม่เกิดการแข่งขันอย่างที่ควรจะเป็น สอง การกำหนดราคาประมูลขั้นต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง ทำให้เกิดความเสียหายมาก เมื่อไม่มีการแข่งขันกันเท่าที่ควร ทั้งนี้ หาก กสทช. ได้รับฟังข้อทักท้วงของฝ่ายต่างๆ ก็จะไม่เกิดข้อผิดพลาดดังกล่าวขึ้น
"ผมจึงขอเรียกร้องให้ กสทช. รับผิดชอบต่อความเสียหายต่อรัฐและประชาชนที่เกิดขึ้น โดยให้แถลงต่อประชาชนว่า จะมีการรับผิดชอบอย่างไร และขอเรียกร้องให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องเข้ามาตรวจสอบ"
*** 'สุภิญญา'ทวิตไม่เห็นด้วย
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการ กสทช. ได้ทวิตข้อความ@Supinya ว่า "เรากำลังปลดล็อกค่าต๋งเรื่องเสือนอนกินในระบบสัมปทานได้แล้ว เราก็อยากให้ระบบใบอนุญาตเริ่มต้นได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีหลักประกันให้ผู้บริโภคเรากำลังปลดล็อกค่าต๋งเรื่องเสือนอนกินในระบบสัมปทานได้แล้ว เราก็อยากให้ระบบใบอนุญาตเริ่มต้นได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีหลักประกันให้ผู้บริโภค 3 ปีที่แล้ว บอก กทช.ไม่มีอำนาจประมูล มาปีนี้สุดท้ายบอร์ดกระจายเสียงใน กสทช.ก็ไม่มีอำนาจร่วมโหวตอยู่ดี ถ้าบอร์ด กทค.ปิดจ็อบ(วันที่ 18 ตุลาคม 2555)
วันนี้ เอง ปีนี้ รัฐวิสาหกิจไม่ตื่นเต้นแล้ว เพราะอย่างไรก็จะเก็บค่าสัมปทานเอาไว้ไม่ได้ ก็ต้องส่งคืนคลัง แต่สูตรประมูล กสทช.มามีปัญหาอีก 3 ปีที่แล้ว ดิฉันเลยโกรธที่รัฐวิสาหกิจลุกขึ้นมาฟ้องการประมูลโดย กทช. เพราะดิฉันมองว่าตอนนั้น กทช.มีอำนาจทำได้ สูตรการประมูลถือว่าดีแล้ว ตอนนั้น ดร.สมเกียรติและดิฉัน เราอยากให้พ.ร.บ.มีผลเลยทันที (2553) แต่ CAT +TOT ก็เคลื่อนไหวคัดค้าน เลยได้เวลาอีก 3 ปี ซึ่งใกล้จะครบแล้ว ถ้าใครตาม Twitter ดิฉันมาตั้งแต่ปี 2553 จะเห็นว่าตอนนั้นเราพยายามสู้ในกฎหมาย ไม่ให้รัฐวิสาหกิจอย่าง CAT+TOT เก็บค่าต๋งไว้เป็นเสือนอนกินอีก เราทำงานเรื่องนี้กันนานนับ 15ปี เรื่องนี้ไม่มีสีเสื้อ แต่เราสู้กับสิ่งที่เรียกว่า "อำนาจนิยมอุปถัมภ์ - ทุนนิยมอภิสิทธิ์ถ้าวุฒิสภาถอดถอนก็ต้องอำลาไปทั้งคณะ ไม่ว่าจะเสียงข้างมากหรือเสียงข้างน้อย แต่การได้พูดในฐานะเสียงข้างน้อยก็ถือว่าได้แสดงจุดยืนตนเอง หลายท่านที่อาจสงสัยว่าทำไม CAT+TOT ถึงเงียบๆรอบนี้ เพราะไม่ว่าจะประมูลได้หรือไม่ ปีหน้า 2 หน่วยงานนี้ก็ไม่สามารถเก็บค่าต๋งสัมปทานไว้ได้อีกแล้วเพราะว่า บทเฉพาะกาลของ พ.ร.บ.กสทช.ระบุว่าภายใน 3 ปีหลัง พ.ร.บ. CAT + TOT ต้องคืนค่าสัมปทานเข้าคลัง ห้ามเก็บไว้เอง
ดังนั้นข้อเสนอตอนนี้มีอยู่ 2 ทางเลือกเท่านั้น 1. จัดประมูลใหม่โดยไว 2. กำหนดเพดานราคาค่าบริการ ที่บอร์ด กสทช. ต้องเลือก
*** หลังประมูลถูกตรวจเข้ม
น.ส.บุญยืน ศิริธรรม ประธานสหพันธ์องค์กรผู้บริโภค (สอบ.) เดินทางเข้ายื่นหนังสือต่อน.ส.สุมล สุตะวิริยะวัฒน์ ส.ว.เพชรบุรี ในฐานะประธานคณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเรื่องทุจริต และเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา เพื่อขอให้ตรวจสอบการฮั้วและธรรมาภิบาลในการประมูล 3 จี เนื่องจากการเปิดประมูลคลื่นความถี่ให้บริการ 3 จีเมื่อวันที่ 16 ต.ค.ที่ผ่านมานั้น อยู่ในสภาพไร้การแข่งขันและอาจจะนำมาซึ่งการฮั้วประมูลและเกิดความเสียหายต่อรัฐอย่างชัดเจน เพราะมีผู้เข้าร่วมประมูลเพียง 3 บริษัทเท่านั้น
ทั้งนี้ สอบ.ขอให้ตรวจสอบว่าการกระทำของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) ที่เป็นผู้จัดประมูล 3 จีนั้น เป็นการกระทำที่อาจก่อให้เกิดการฮั้วประมูล ตามพ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 (พ.ร.บ.ฮั้วประมูล) หรือไม่ และมาตรการคุ้มครองผู้บริโภค เช่น การกำหนดเงื่อนไขให้บริการ การประกาศสัญญามาตรฐานในการให้บริการ และราคาค่าบริการที่เป็นประโยชน์กับผู้บริโภค เพราะผลการประมูลเอื้อประโยชน์กับผู้ให้บริการนั้นราคาต่ำกว่าทรัพย์สิน รวมทั้งแนวทางในการกำหนดกติกาที่ชัดเจนในการให้ผู้ประมูลหรือผู้รับใบอนุญาตในอนาคตใช้โครงข่ายร่วมกันด้วย
วันเดียวกันมีตัวแทนกลุ่มประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการปฏิรูปสื่อ นำโดยนายสุรศักดิ์ ศิริพรอดุลศิลป์ อาจารย์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในฐานะผู้ริเริ่มรวบรวมรายชื่อได้นำรายชื่อประชาชนจำนวน 57,905 คน ยื่นต่อนายนิคม ไวยรัชพานิช ประธานวุฒิสภา เพื่อให้วุฒิสภาถอดถอนคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ทั้ง 11 คน ออกจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญมาตรา 270 (2) เนื่องจากมีพฤติการณ์ 1.ส่อว่าทุจริตต่อหน้าที่ในกรณีการจัดประมูลคลื่นความถี่ 3จี เป็นความผิดตามมาตรา 11 ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 (พ.ร.บ.ฮั้วประมูล) 2.ส่อว่าฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง
3. ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ในตำแหน่งออกประกาศเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 3จี โดยถือว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 47 วรรคสาม ที่ระบุว่าการดำเนินการของ กสทช.จะต้องคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชน ทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น รวมทั้งต้องจัดให้ประชาชนมีส่วนในการดำเนินการสื่อมวลชนสาธารณะ และ 4. ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายโดยใช้อำนาจหน้าที่ในตำแหน่งออกประกาศเรื่องหลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ.2555 โดยใช้กฎหมายอย่างไม่มีความเสมอภาค
วันเดียวกัน นายไพบูลย์ นิติตะวัน ส.ว.สรรหา กล่าวว่า ในการประชุม กมธ.ศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริตและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา ตนในฐานะกรรมาธิการฯ จะยื่นประเด็นตรวจสอบการประมูล 3จี ของ กสทช. ให้ กมธ.พิจารณาและตรวจสอบ เพราะมีความเป็นไปได้ว่า จะมีการฮั้วประมูล เบื้องต้นตนจะเสนอให้มีรายงานการประชุมเรื่องประมูล 3จี ของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) ในรอบ 3 เดือนย้อนหลัง ทั้งนี้ ตนขอเรียกร้องให้ กทค.อย่าเพิ่งพิจารณารับรองผลการประมูล 3จี ควรรอให้ฝ่ายที่ตรวจสอบ และศาลมีคำวินิจฉัยก่อน
แม้ตอนนี้ กสทช.ปิดจ็อบประมูลไปเรียบร้อยแล้ว แต่กระแสของมวลชนยังตั้งคำถาม? เรื่องราคาที่รับไม่ได้ จนนำไปสู่ของการยื่นฟ้องถอดถอน กสทช. เรื่องประมูล 3 จี คงไม่จบง่ายๆ เพราะ กสทช. ทั้ง 11 คน โดยเฉพาะคณะอนุกรรมการ กทค. 5 คน จะต้องตอบสังคมและถูกตรวจสอบอย่างเข้มข้นเช่นกัน
กทค. 4 ต่อ 1 รับมติประมูล 3 จี
เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2555 ที่ผ่านมา กทค.(คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ) มีการประชุมเพื่อลงมติรับการประมูล 3 จี และมีการถ่ายทอดเสียงผ่านทางห้องประชุมมายังห้องสื่อมวลชน โดยมีผู้เข้าประชุม 5 คน คือ พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ประธาน กทค., นายสุทธิพล ทวีชัยการ,น.พ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา, พล.อ.สุกิจ ขมะสุนทร และรศ.ประเสริฐ ศีลพิพัฒน์
ปรากฏว่าการถ่ายทอดเสียงการประชุมเพื่อลงคะแนนโหวตบอร์ดเสียงแตกระหว่าง น.พ.ประวิทย์ กับ นายสุทธิพล ซึ่ง น.พ. ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กรรมการ กทค. เรียกร้องขอดูเอกสารการเคาะราคาของทุกบริษัททั้ง 7 รอบเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจก่อนลงมติรับรองผลการประมูล 3G เพราะทำให้รู้ได้ว่าฮั้วหรือไม่ พร้อมกับระบุเอกสารการศึกษาของคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯระบุว่ามูลค่าคลื่นความถี่ที่แท้จริงอยู่ที่ 6,676 ล้านบาท ไม่ใช่ 6,440 ล้านบาท
ขณะที่นายสุทธิพล กล่าวว่า ประชาชนรอใช้ 3จีใจจดใจจ่อ แต่กังวลกลัว กสทช.ทุจริต เอื้อประโยชน์ให้ผู้ประกอบการ ตอนนี้ ลือว่ากสทช. 9 คนถูกซื้อตัวแล้วเสียง สุทธิพล"ผมเสียใจที่ก.ก.คนหนึ่งไปให้ข่าวว่า ไม่เห็นด้วยที่กทค.ปรับหลักเกณฑ์เหลือ 15เมกะ และมีราคา 4,500 ล้านบาทแต่นี่คือมติก.ก.ส่วนใหญ่"
แต่อย่างไรก็ตามผลการลงมติปรากฏว่า พล.อ.สุกิจ ขมะสุนทร ลงมติคนแรก ตามมาด้วยรศ.ประเสริฐ ศีลพิพัฒน์ ,นายสุทธิพล ทวีชัยการ ขณะที่ น.พ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กล่าวว่า "ไม่สามารถลงมติได้ครับเพราะไม่เห็นข้อมูลการประมูล 3G” และ พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ทำให้การลงมติครั้งนี้มีเสียง 4:1 เห็นชอบการประมูล 3 G และจะเสนอบอร์ดใหญ่ ของ กสทช.ลงมติรับทราบในภายหลัง
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ
http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=149224:3--&catid=123:2009-02-08-11-44-33&Itemid=491
ไม่มีความคิดเห็น: