13 พฤศจิกายน 2555 (เกาะติดประมูล3G)(บทความ) กรณีศึกษาผู้ตรวจการแผ่นดินยื่นศาลปกครอง ประมูล 3G
ประเด็นหลัก
4. การจัดประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz หรือ 3G เป็นส่ วนหนึ่งของกระบวนการพิจารณา ออกใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ ฉะนั้น การจะพิจารณาว่ ามีการแข่ งขันโดยเสรีอย่ างเป็นธรรมหรือไม่ ต้ องพิจารณาในทั้งกระบวนการออกใบอนุญาต กล่าวคือ ช่วงก่ อนการจัดประมูลคลื่นความถี่ ในวันประมูลและช่วงหลังจากการประมูลคลื่นความถี่ ซึ่งจะต้องทำให้ เกิดการแข่ งขันโดยเสรี อย่างเป็นธรรม ทั้งจะต้องพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ที่กฎหมายกำหนดตามมาตรา 41 และมาตรา 45 ของ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553 รวมทั้งหลักการตามมาตรา 47 แห่ งรัฐธรรมนูญฯ นั่นคือประโยชน์สูงสุดของประชาชนในระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น ประโยชน์ในการจัดสรรทรัพยากรคลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้ มค่ า การให้ บริการอย่ างมีประสิทธิภาพ
ภาระของผู้ บริโภคและการคุ้มครองสิทธิของผู้ ขอรับใบอนุญาต ฯลฯ
การที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน มีความเห็นว่ าการจัดประมูล 3G ไม่ มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมจึงเป็นการพิจารณาเฉพาะส่ วนของการจัดประมูลคลื่นความถี่และไม่ พิจารณาถึงองค์ประกอบอื่นๆ ตามเงื่อนไขของกฎหมายอันเป็นเหตุให้ ข้อสรุปของผู้ ตรวจการแผ่ นดินมีความคลาดเคลื่อน ซึ่งในขณะนี้ กสทช. ก็ยังไม่ ได้ ออกใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz แต่ อย่างใด
5. การที่จะพิจารณาว่าหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ซึ่งรวมถึง การจัดประมูลคลื่น 3G ดังกล่าวจะเข้ าลักษณะการแข่ งขันโดยเสรีอย างเป็นธรรมหรือไม่ เป็นดุลพินิจ ของ กสทช. ซึ่งทั้งรัฐธรรมนูญและ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553 กำหนดให้ กสทช. เป็นผู้ มีอำนาจหน้ าที่ในการพิจารณา ซึ่งขณะที่ กสทช. เห็นว่ าประกาศหลักเกณฑ์ที่ออกไป รวมทั้ง ขั้นตอนในการจัดประมูลคลื่นความถี่ได้คำนึงถึงการแข่ งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมแล้ ว
แต่ มีนักวิชาการบางคน กลุ่มผู้ เคลื่อนไหวบางกลุ่ม มีความเห็นแตกต่ างจาก กสทช. ในขณะเดียวกันก็มีนักวิชาการ นักกฎหมายและผู้เกี่ยวข้ องส่ วนใหญ่ สนับสนุนความเห็นของ กสทช. นั่นก็แสดงให้ เห็นว่า ปัญหาในเรื่องนี้เป็นประเด็นเรื่องความแตกต่ างในความเห็น เป็นเรื่องของการใช้ ดุลพินิจ มิใช่ เรื่องความไม่ชอบด้ วยกฎหมายของประกาศของ กสทช. หรือการดำเนินงานของ กสทช. หากแต่เป็นเรื่องการใช้ ดุลพินิจของ กสทช. ซึ่งแม้ กระทำไปโดยชอบแต่ไม่ ถูกใจกลุ่ มคนบางกลุ่มจึงออกมาเคลื่อนไหว
________________________________________
กรณีศึกษาผู้ตรวจการแผ่นดินยื่นศาลปกครอง ประมูล 3G
ตามที่ปรากฏจากการแถลงของโฆษกสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินว่าผู้ตรวจการแผ่นดินได้ ยื่นฟ้องสำนักงาน กสทช. ต่ อศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 มีประเด็นที่น่าสนใจศึกษาเป็นกรณีตัวอย่างดังนี้
1. คำฟ้องของผู้ตรวจการแผ่นดินที่ยื่นฟ้องสำนักงาน กสทช. ต่อศาลปกครองกลางไม่ได้ฟ้องในประเด็นเรื่องทุจริตในการออกประกาศ รวมทั้งไม่ มีประเด็นเรื่องฮั้วการประมูลคลื่นความถี่
2.การออกประกาศ กสทช. เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้คลื่นความถี่สำหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล (IMT) ย่าน 2.1 GHz พ.ศ. 2555 ได้ ดำเนินการอย่างรอบคอบ ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย ผ่านการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ มีการปรับปรุงตามข้ อสังเกตของสาธารณะ ก่ อนนำเสนอให้ กสทช. ให้ ความเห็นชอบ ซึ่งเมื่อ กสทช. ยื่นคำร้องขอจำหน่ ายคดีเดิมที่มีการฟ้องให้ เพิกถอนประกาศเดิมของ กทช. โดยยืนยันความชอบด้ วยกฎหมายของประกาศใหม่ ของ กสทช. ดังกล่าว ศาลปกครองกลางได้ มีคำสั่งจำหน ายคดีเพราะเหตุแห่งการฟ้องคดีหมดสิ้นไปตามคำสั่งศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดำ 1411,1436/2553 คดีหมายเลขแดงที่ 1722-1723/2553 ระหว่าง บริษัท กสท โทรคมนาคม และ บริษัท ทีโอที ผู้ฟ้องคดีกับสำนักงานกสทช. ที่ 1และ กสทช. ที่ 2
ผู้ถูกฟ้องคดี จึงแสดงให้เห็นว่ าขั้นตอนต่างๆ ในการออกประกาศ กสทช. เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายทำให้ประกาศดังกล่าวชอบด้วยกฎหมาย
นอกจากนี้ การออกหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ รวมทั้งกฎและวิธีการประมูล มีลักษณะเฉพาะทาง ต่ างจากการประมูลของราชการทั่วๆ ไป กฎหมายจึงให้ กสทช. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลาและเงื่อนไขให้ เป็นไปตามประกาศที่ กสทช.กำหนด โดยไม่ อาจนำหลักเกณฑ์การประมูลทั่วๆไปมาใช้ ได้ ซึ่ง กสทช. ได้ พิจารณาข้ อมูลต่างๆ อย่างรอบคอบทั้งได้นำกติกาสากลรวมทั้งแนวปฏิบัติที่ได้ รับการยอมรับจากทั่วโลกมาประกอบในการยกร่ าง ประกาศซึ่งผ่ านการระดมความคิดเห็นจากผู้ เชี่ยวชาญเป็นจำนวนมาก ทั้งภายในและภายนอก องค์กร ทั้งยังผ่ านการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนดเรียบร อยแล้ว
3.ตามที่ปรากฏคำฟ้องของผู้ ตรวจการแผ่ นดินไม่ ได้ มีประเด็นเกี่ยวกับอำนาจหน้ าที่ของ กทค.ในการรับรองผลการประมูล 3G และการพิจารณาออกใบอนุญาตให้ ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงไม่ ได้ มีข้อสงสัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของ กทค. ในการรับรองผลการประมูลคลื่นความถี่ฯ กรณีจึงเห็นได้ชัดว่าประเด็นที่ ส.ว.ไพบูลย์ นิติตะวัน กับพวกยืนยันมาโดยตลอดว่า กทค.ไม่ มีอำนาจและได้ พยายามกดดันให้ ประธาน กสทช. เรียกประชุม กสทช. ด่ วน เพื่อทบทวนมติของ กทค. นั้นไม่ถูกต้ องและคลาดเคลื่อนในข้ อกฎหมาย
4. การจัดประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz หรือ 3G เป็นส่ วนหนึ่งของกระบวนการพิจารณา ออกใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ ฉะนั้น การจะพิจารณาว่ ามีการแข่ งขันโดยเสรีอย่ างเป็นธรรมหรือไม่ ต้ องพิจารณาในทั้งกระบวนการออกใบอนุญาต กล่าวคือ ช่วงก่ อนการจัดประมูลคลื่นความถี่ ในวันประมูลและช่วงหลังจากการประมูลคลื่นความถี่ ซึ่งจะต้องทำให้ เกิดการแข่ งขันโดยเสรี อย่างเป็นธรรม ทั้งจะต้องพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ที่กฎหมายกำหนดตามมาตรา 41 และมาตรา 45 ของ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553 รวมทั้งหลักการตามมาตรา 47 แห่ งรัฐธรรมนูญฯ นั่นคือประโยชน์สูงสุดของประชาชนในระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น ประโยชน์ในการจัดสรรทรัพยากรคลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้ มค่ า การให้ บริการอย่ างมีประสิทธิภาพ
ภาระของผู้ บริโภคและการคุ้มครองสิทธิของผู้ ขอรับใบอนุญาต ฯลฯ
การที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน มีความเห็นว่ าการจัดประมูล 3G ไม่ มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมจึงเป็นการพิจารณาเฉพาะส่ วนของการจัดประมูลคลื่นความถี่และไม่ พิจารณาถึงองค์ประกอบอื่นๆ ตามเงื่อนไขของกฎหมายอันเป็นเหตุให้ ข้อสรุปของผู้ ตรวจการแผ่ นดินมีความคลาดเคลื่อน ซึ่งในขณะนี้ กสทช. ก็ยังไม่ ได้ ออกใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz แต่ อย่างใด
5. การที่จะพิจารณาว่าหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ซึ่งรวมถึง การจัดประมูลคลื่น 3G ดังกล่าวจะเข้ าลักษณะการแข่ งขันโดยเสรีอย างเป็นธรรมหรือไม่ เป็นดุลพินิจ ของ กสทช. ซึ่งทั้งรัฐธรรมนูญและ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553 กำหนดให้ กสทช. เป็นผู้ มีอำนาจหน้ าที่ในการพิจารณา ซึ่งขณะที่ กสทช. เห็นว่ าประกาศหลักเกณฑ์ที่ออกไป รวมทั้ง ขั้นตอนในการจัดประมูลคลื่นความถี่ได้คำนึงถึงการแข่ งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมแล้ ว
แต่ มีนักวิชาการบางคน กลุ่มผู้ เคลื่อนไหวบางกลุ่ม มีความเห็นแตกต่ างจาก กสทช. ในขณะเดียวกันก็มีนักวิชาการ นักกฎหมายและผู้เกี่ยวข้ องส่ วนใหญ่ สนับสนุนความเห็นของ กสทช. นั่นก็แสดงให้ เห็นว่า ปัญหาในเรื่องนี้เป็นประเด็นเรื่องความแตกต่ างในความเห็น เป็นเรื่องของการใช้ ดุลพินิจ มิใช่ เรื่องความไม่ชอบด้ วยกฎหมายของประกาศของ กสทช. หรือการดำเนินงานของ กสทช. หากแต่เป็นเรื่องการใช้ ดุลพินิจของ กสทช. ซึ่งแม้ กระทำไปโดยชอบแต่ไม่ ถูกใจกลุ่ มคนบางกลุ่มจึงออกมาเคลื่อนไหว
การที่ผู้ตรวจการแผ่นดินใช้ อำนาจสรุปว่ าการใช้ดุลพินิจของ กสทช. ไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยไปเห็นสอดคล องกับ
ความเห็นของกลุ่ มคนบางกลุ่มที่มีความเห็นแตกต่ างจาก กสทช. แต่ กลับไม่ รับฟังความคิดเห็นของนักวิชาการ นักกฎหมายและภาคธุรกิจ รวมทั้งภาคประชาชนเป็นจำนวนมากที่สนับสนุนการใช้ ดุลพินิจของ กสทช. จึงเป็นเรื่องที่อาจมองได้ ว่าผู้ ตรวจการแผ่นดินใช้ อำนาจก้ าวล่ วงในการใช้ ดุลพินิจโดยชอบของหน่ วยงานอื่นของรัฐที่เป็นอิสระ ซึ่งเป็นเรื่องที่กระทบต่ อหลักการ บทบาท อำนาจหน้ าที่ของผู้ ตรวจการแผ่ นดินตามรัฐธรรมนูญ จึงเป็นเรื่องที่ต้อง ระมัดระวังอย่ างยิ่งเพราะอาจจะทำให้ กลุ่มผลประโยชน์ อาศัยกลไกของผู้ตรวจการแผ่ นดินในการเข้ าไปแทรกแซงดุลพินิจขององค์กรอิสระอื่นๆ
6. การที่ผู้ ตรวจการแผ่นดินมีมติส่ งเรื่องให้ ศาลปกครองกลางวินิจฉัยในประเด็นเรื่องความชอบด้ วยกฎหมายของประกาศ กสทช. เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่สำหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากลย่าน 2.1 GHz พ.ศ. 2555 โดยขอให้ เพิกถอนประกาศและผลการจัดประมูลคลื่นความถี่ฯ เป็นผลจากการที่ผู้ตรวจการแผ่ นดินเข้าใจประเด็นเฉพาะทางในเรื่องเทคนิคคลาดเคลื่อนทั้งในเรื่องกระบวนการพิจารณาอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคม หลักการของการแข่ งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมในกิจการโทรคมนาคม กฎเกณฑ์การจัดประมูลคลื่นความถี่ กติกาและแนวปฏิบัติสากลในเรื่องการพิจารณาออกใบอนุญาตและการประมูลคลื่นความถี่ แนวคิดทาง
เศรษฐศาสตร์ สภาวะทางตลาดและลักษณะของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน
นอกจากนี้ยังขาดความเข้ าใจถึงสภาวะวิกฤตของระบบโทรคมนาคมของไทย อันเกิดจากการที่การประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ถูกล้มไปเมื่อพ.ศ. 2553 เป็นเหตุให้คลื่นความถี่ย่านนี้ถูกทิ้งไว้โดยไม่มีการใช้ ประโยชน์ทำให้ เกิดความเสียหายต่ อประเทศอย่ างมหาศาล
นอกจากนี้ พัฒนาการของเทคโนโลยี 4G ในปัจจุบัน ยังมีผลทำให้ คลื่นที่ใช้ ทำเทคโนโลยี 3G มีราคาถูกลงอีกด้ วย โดยในปีหน้ าและปีต่อๆ ไป ก็จะมีคลื่นความถี่ที่มีคุณสมบัติดีกว่ านี้ พร้ อมที่จะถูกนำออกมาประมูลคลื่นความถี่ การขาดความเข้าใจและการได้ ข้อมูลที่ไม่ ครบถ้ วนนี้ ทำให้ ผู้ ตรวจการแผ่นดินขแปลความบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและบทบัญญัติใน พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553คลาดเคลื่อน
ทั้งนี้ เนื่องจากผู้ตรวจการแผ่นดินมิใช่ เป็นองค์กรที่มีความรู้ ชำนาญเฉพาะด้ านเกี่ยวกับการจัดสรรคลื่นความถี่ รวมทั้งเกิดจากการที่ผู้ ตรวจการแผ่นดินไม่ ปฏิบัติตามหลักกฎหมายปกครอง พื้นฐานคือ การรับฟังความสองฝ่าย เนื่องจากไม่ เปิดโอกาสให้ กสทช. รวมทั้งกลุ่มผู้ เกี่ยวข้องไปให้ ข้ อมูลเพื่อสร้ างความรู้ ความเข าใจในประเด็นที่ถูกกล่ าวหา ซึ่งหากผู้ ตรวจการแผ่นดินไม่เร่งรีบในการพิจารณา เรื่องนี้และรับฟังข้ อมูลจากทั้ง 2 ฝ่ายอย่างรอบด้านก็น่าเชื่อเป็นอย่างยิ่งว่าจะทำให้ ผลการพิจารณาในเรื่องดังกล่ าวแตกต่ างออกไป
ASTV ผู้จัดการ
http://www.manager.co.th/CBiZReview/ViewNews.aspx?NewsID=9550000138687
4. การจัดประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz หรือ 3G เป็นส่ วนหนึ่งของกระบวนการพิจารณา ออกใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ ฉะนั้น การจะพิจารณาว่ ามีการแข่ งขันโดยเสรีอย่ างเป็นธรรมหรือไม่ ต้ องพิจารณาในทั้งกระบวนการออกใบอนุญาต กล่าวคือ ช่วงก่ อนการจัดประมูลคลื่นความถี่ ในวันประมูลและช่วงหลังจากการประมูลคลื่นความถี่ ซึ่งจะต้องทำให้ เกิดการแข่ งขันโดยเสรี อย่างเป็นธรรม ทั้งจะต้องพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ที่กฎหมายกำหนดตามมาตรา 41 และมาตรา 45 ของ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553 รวมทั้งหลักการตามมาตรา 47 แห่ งรัฐธรรมนูญฯ นั่นคือประโยชน์สูงสุดของประชาชนในระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น ประโยชน์ในการจัดสรรทรัพยากรคลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้ มค่ า การให้ บริการอย่ างมีประสิทธิภาพ
ภาระของผู้ บริโภคและการคุ้มครองสิทธิของผู้ ขอรับใบอนุญาต ฯลฯ
การที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน มีความเห็นว่ าการจัดประมูล 3G ไม่ มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมจึงเป็นการพิจารณาเฉพาะส่ วนของการจัดประมูลคลื่นความถี่และไม่ พิจารณาถึงองค์ประกอบอื่นๆ ตามเงื่อนไขของกฎหมายอันเป็นเหตุให้ ข้อสรุปของผู้ ตรวจการแผ่ นดินมีความคลาดเคลื่อน ซึ่งในขณะนี้ กสทช. ก็ยังไม่ ได้ ออกใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz แต่ อย่างใด
5. การที่จะพิจารณาว่าหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ซึ่งรวมถึง การจัดประมูลคลื่น 3G ดังกล่าวจะเข้ าลักษณะการแข่ งขันโดยเสรีอย างเป็นธรรมหรือไม่ เป็นดุลพินิจ ของ กสทช. ซึ่งทั้งรัฐธรรมนูญและ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553 กำหนดให้ กสทช. เป็นผู้ มีอำนาจหน้ าที่ในการพิจารณา ซึ่งขณะที่ กสทช. เห็นว่ าประกาศหลักเกณฑ์ที่ออกไป รวมทั้ง ขั้นตอนในการจัดประมูลคลื่นความถี่ได้คำนึงถึงการแข่ งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมแล้ ว
แต่ มีนักวิชาการบางคน กลุ่มผู้ เคลื่อนไหวบางกลุ่ม มีความเห็นแตกต่ างจาก กสทช. ในขณะเดียวกันก็มีนักวิชาการ นักกฎหมายและผู้เกี่ยวข้ องส่ วนใหญ่ สนับสนุนความเห็นของ กสทช. นั่นก็แสดงให้ เห็นว่า ปัญหาในเรื่องนี้เป็นประเด็นเรื่องความแตกต่ างในความเห็น เป็นเรื่องของการใช้ ดุลพินิจ มิใช่ เรื่องความไม่ชอบด้ วยกฎหมายของประกาศของ กสทช. หรือการดำเนินงานของ กสทช. หากแต่เป็นเรื่องการใช้ ดุลพินิจของ กสทช. ซึ่งแม้ กระทำไปโดยชอบแต่ไม่ ถูกใจกลุ่ มคนบางกลุ่มจึงออกมาเคลื่อนไหว
________________________________________
กรณีศึกษาผู้ตรวจการแผ่นดินยื่นศาลปกครอง ประมูล 3G
ตามที่ปรากฏจากการแถลงของโฆษกสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินว่าผู้ตรวจการแผ่นดินได้ ยื่นฟ้องสำนักงาน กสทช. ต่ อศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 มีประเด็นที่น่าสนใจศึกษาเป็นกรณีตัวอย่างดังนี้
1. คำฟ้องของผู้ตรวจการแผ่นดินที่ยื่นฟ้องสำนักงาน กสทช. ต่อศาลปกครองกลางไม่ได้ฟ้องในประเด็นเรื่องทุจริตในการออกประกาศ รวมทั้งไม่ มีประเด็นเรื่องฮั้วการประมูลคลื่นความถี่
2.การออกประกาศ กสทช. เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้คลื่นความถี่สำหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล (IMT) ย่าน 2.1 GHz พ.ศ. 2555 ได้ ดำเนินการอย่างรอบคอบ ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย ผ่านการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ มีการปรับปรุงตามข้ อสังเกตของสาธารณะ ก่ อนนำเสนอให้ กสทช. ให้ ความเห็นชอบ ซึ่งเมื่อ กสทช. ยื่นคำร้องขอจำหน่ ายคดีเดิมที่มีการฟ้องให้ เพิกถอนประกาศเดิมของ กทช. โดยยืนยันความชอบด้ วยกฎหมายของประกาศใหม่ ของ กสทช. ดังกล่าว ศาลปกครองกลางได้ มีคำสั่งจำหน ายคดีเพราะเหตุแห่งการฟ้องคดีหมดสิ้นไปตามคำสั่งศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดำ 1411,1436/2553 คดีหมายเลขแดงที่ 1722-1723/2553 ระหว่าง บริษัท กสท โทรคมนาคม และ บริษัท ทีโอที ผู้ฟ้องคดีกับสำนักงานกสทช. ที่ 1และ กสทช. ที่ 2
ผู้ถูกฟ้องคดี จึงแสดงให้เห็นว่ าขั้นตอนต่างๆ ในการออกประกาศ กสทช. เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายทำให้ประกาศดังกล่าวชอบด้วยกฎหมาย
นอกจากนี้ การออกหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ รวมทั้งกฎและวิธีการประมูล มีลักษณะเฉพาะทาง ต่ างจากการประมูลของราชการทั่วๆ ไป กฎหมายจึงให้ กสทช. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลาและเงื่อนไขให้ เป็นไปตามประกาศที่ กสทช.กำหนด โดยไม่ อาจนำหลักเกณฑ์การประมูลทั่วๆไปมาใช้ ได้ ซึ่ง กสทช. ได้ พิจารณาข้ อมูลต่างๆ อย่างรอบคอบทั้งได้นำกติกาสากลรวมทั้งแนวปฏิบัติที่ได้ รับการยอมรับจากทั่วโลกมาประกอบในการยกร่ าง ประกาศซึ่งผ่ านการระดมความคิดเห็นจากผู้ เชี่ยวชาญเป็นจำนวนมาก ทั้งภายในและภายนอก องค์กร ทั้งยังผ่ านการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนดเรียบร อยแล้ว
3.ตามที่ปรากฏคำฟ้องของผู้ ตรวจการแผ่ นดินไม่ ได้ มีประเด็นเกี่ยวกับอำนาจหน้ าที่ของ กทค.ในการรับรองผลการประมูล 3G และการพิจารณาออกใบอนุญาตให้ ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงไม่ ได้ มีข้อสงสัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของ กทค. ในการรับรองผลการประมูลคลื่นความถี่ฯ กรณีจึงเห็นได้ชัดว่าประเด็นที่ ส.ว.ไพบูลย์ นิติตะวัน กับพวกยืนยันมาโดยตลอดว่า กทค.ไม่ มีอำนาจและได้ พยายามกดดันให้ ประธาน กสทช. เรียกประชุม กสทช. ด่ วน เพื่อทบทวนมติของ กทค. นั้นไม่ถูกต้ องและคลาดเคลื่อนในข้ อกฎหมาย
4. การจัดประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz หรือ 3G เป็นส่ วนหนึ่งของกระบวนการพิจารณา ออกใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ ฉะนั้น การจะพิจารณาว่ ามีการแข่ งขันโดยเสรีอย่ างเป็นธรรมหรือไม่ ต้ องพิจารณาในทั้งกระบวนการออกใบอนุญาต กล่าวคือ ช่วงก่ อนการจัดประมูลคลื่นความถี่ ในวันประมูลและช่วงหลังจากการประมูลคลื่นความถี่ ซึ่งจะต้องทำให้ เกิดการแข่ งขันโดยเสรี อย่างเป็นธรรม ทั้งจะต้องพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ที่กฎหมายกำหนดตามมาตรา 41 และมาตรา 45 ของ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553 รวมทั้งหลักการตามมาตรา 47 แห่ งรัฐธรรมนูญฯ นั่นคือประโยชน์สูงสุดของประชาชนในระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น ประโยชน์ในการจัดสรรทรัพยากรคลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้ มค่ า การให้ บริการอย่ างมีประสิทธิภาพ
ภาระของผู้ บริโภคและการคุ้มครองสิทธิของผู้ ขอรับใบอนุญาต ฯลฯ
การที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน มีความเห็นว่ าการจัดประมูล 3G ไม่ มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมจึงเป็นการพิจารณาเฉพาะส่ วนของการจัดประมูลคลื่นความถี่และไม่ พิจารณาถึงองค์ประกอบอื่นๆ ตามเงื่อนไขของกฎหมายอันเป็นเหตุให้ ข้อสรุปของผู้ ตรวจการแผ่ นดินมีความคลาดเคลื่อน ซึ่งในขณะนี้ กสทช. ก็ยังไม่ ได้ ออกใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz แต่ อย่างใด
5. การที่จะพิจารณาว่าหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ซึ่งรวมถึง การจัดประมูลคลื่น 3G ดังกล่าวจะเข้ าลักษณะการแข่ งขันโดยเสรีอย างเป็นธรรมหรือไม่ เป็นดุลพินิจ ของ กสทช. ซึ่งทั้งรัฐธรรมนูญและ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553 กำหนดให้ กสทช. เป็นผู้ มีอำนาจหน้ าที่ในการพิจารณา ซึ่งขณะที่ กสทช. เห็นว่ าประกาศหลักเกณฑ์ที่ออกไป รวมทั้ง ขั้นตอนในการจัดประมูลคลื่นความถี่ได้คำนึงถึงการแข่ งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมแล้ ว
แต่ มีนักวิชาการบางคน กลุ่มผู้ เคลื่อนไหวบางกลุ่ม มีความเห็นแตกต่ างจาก กสทช. ในขณะเดียวกันก็มีนักวิชาการ นักกฎหมายและผู้เกี่ยวข้ องส่ วนใหญ่ สนับสนุนความเห็นของ กสทช. นั่นก็แสดงให้ เห็นว่า ปัญหาในเรื่องนี้เป็นประเด็นเรื่องความแตกต่ างในความเห็น เป็นเรื่องของการใช้ ดุลพินิจ มิใช่ เรื่องความไม่ชอบด้ วยกฎหมายของประกาศของ กสทช. หรือการดำเนินงานของ กสทช. หากแต่เป็นเรื่องการใช้ ดุลพินิจของ กสทช. ซึ่งแม้ กระทำไปโดยชอบแต่ไม่ ถูกใจกลุ่ มคนบางกลุ่มจึงออกมาเคลื่อนไหว
การที่ผู้ตรวจการแผ่นดินใช้ อำนาจสรุปว่ าการใช้ดุลพินิจของ กสทช. ไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยไปเห็นสอดคล องกับ
ความเห็นของกลุ่ มคนบางกลุ่มที่มีความเห็นแตกต่ างจาก กสทช. แต่ กลับไม่ รับฟังความคิดเห็นของนักวิชาการ นักกฎหมายและภาคธุรกิจ รวมทั้งภาคประชาชนเป็นจำนวนมากที่สนับสนุนการใช้ ดุลพินิจของ กสทช. จึงเป็นเรื่องที่อาจมองได้ ว่าผู้ ตรวจการแผ่นดินใช้ อำนาจก้ าวล่ วงในการใช้ ดุลพินิจโดยชอบของหน่ วยงานอื่นของรัฐที่เป็นอิสระ ซึ่งเป็นเรื่องที่กระทบต่ อหลักการ บทบาท อำนาจหน้ าที่ของผู้ ตรวจการแผ่ นดินตามรัฐธรรมนูญ จึงเป็นเรื่องที่ต้อง ระมัดระวังอย่ างยิ่งเพราะอาจจะทำให้ กลุ่มผลประโยชน์ อาศัยกลไกของผู้ตรวจการแผ่ นดินในการเข้ าไปแทรกแซงดุลพินิจขององค์กรอิสระอื่นๆ
6. การที่ผู้ ตรวจการแผ่นดินมีมติส่ งเรื่องให้ ศาลปกครองกลางวินิจฉัยในประเด็นเรื่องความชอบด้ วยกฎหมายของประกาศ กสทช. เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่สำหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากลย่าน 2.1 GHz พ.ศ. 2555 โดยขอให้ เพิกถอนประกาศและผลการจัดประมูลคลื่นความถี่ฯ เป็นผลจากการที่ผู้ตรวจการแผ่ นดินเข้าใจประเด็นเฉพาะทางในเรื่องเทคนิคคลาดเคลื่อนทั้งในเรื่องกระบวนการพิจารณาอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคม หลักการของการแข่ งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมในกิจการโทรคมนาคม กฎเกณฑ์การจัดประมูลคลื่นความถี่ กติกาและแนวปฏิบัติสากลในเรื่องการพิจารณาออกใบอนุญาตและการประมูลคลื่นความถี่ แนวคิดทาง
เศรษฐศาสตร์ สภาวะทางตลาดและลักษณะของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน
นอกจากนี้ยังขาดความเข้ าใจถึงสภาวะวิกฤตของระบบโทรคมนาคมของไทย อันเกิดจากการที่การประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz ถูกล้มไปเมื่อพ.ศ. 2553 เป็นเหตุให้คลื่นความถี่ย่านนี้ถูกทิ้งไว้โดยไม่มีการใช้ ประโยชน์ทำให้ เกิดความเสียหายต่ อประเทศอย่ างมหาศาล
นอกจากนี้ พัฒนาการของเทคโนโลยี 4G ในปัจจุบัน ยังมีผลทำให้ คลื่นที่ใช้ ทำเทคโนโลยี 3G มีราคาถูกลงอีกด้ วย โดยในปีหน้ าและปีต่อๆ ไป ก็จะมีคลื่นความถี่ที่มีคุณสมบัติดีกว่ านี้ พร้ อมที่จะถูกนำออกมาประมูลคลื่นความถี่ การขาดความเข้าใจและการได้ ข้อมูลที่ไม่ ครบถ้ วนนี้ ทำให้ ผู้ ตรวจการแผ่นดินขแปลความบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและบทบัญญัติใน พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. 2553คลาดเคลื่อน
ทั้งนี้ เนื่องจากผู้ตรวจการแผ่นดินมิใช่ เป็นองค์กรที่มีความรู้ ชำนาญเฉพาะด้ านเกี่ยวกับการจัดสรรคลื่นความถี่ รวมทั้งเกิดจากการที่ผู้ ตรวจการแผ่นดินไม่ ปฏิบัติตามหลักกฎหมายปกครอง พื้นฐานคือ การรับฟังความสองฝ่าย เนื่องจากไม่ เปิดโอกาสให้ กสทช. รวมทั้งกลุ่มผู้ เกี่ยวข้องไปให้ ข้ อมูลเพื่อสร้ างความรู้ ความเข าใจในประเด็นที่ถูกกล่ าวหา ซึ่งหากผู้ ตรวจการแผ่นดินไม่เร่งรีบในการพิจารณา เรื่องนี้และรับฟังข้ อมูลจากทั้ง 2 ฝ่ายอย่างรอบด้านก็น่าเชื่อเป็นอย่างยิ่งว่าจะทำให้ ผลการพิจารณาในเรื่องดังกล่ าวแตกต่ างออกไป
ASTV ผู้จัดการ
http://www.manager.co.th/CBiZReview/ViewNews.aspx?NewsID=9550000138687
ไม่มีความคิดเห็น: