08 กุมภาพันธ์ 2558 Trend Micro พบว่าปี 2557 ตรวจพบการคลิกเข้าเว็บไซต์อันตรายทั้งหมด 4.5 ล้านครั้ง ส่วนในไตรมาส 2 เพิ่มขึ้นเป็น 5.4 ล้านครั้ง และในไตรมาส 3 สูงขึ้นเป็น 7.1 ล้านครั้ง และในไตรมาสสุดท้ายมีถึง 7.6 ล้านครั้ง
ประเด็นหลัก
"ไตรมาสแรกของปี 2557 เทรนด์ไมโครตรวจพบการคลิกเข้าเว็บไซต์อันตรายทั้งหมด 4.5 ล้านครั้ง ส่วนในไตรมาส 2 เพิ่มขึ้นเป็น 5.4 ล้านครั้ง และในไตรมาส 3 สูงขึ้นเป็น 7.1 ล้านครั้ง และในไตรมาสสุดท้ายมีถึง 7.6 ล้านครั้ง ซึ่งลิงก์ทั้งหมดนี้ ถูกเข้าถึงจากผู้บริโภคทั่วไป และองค์กรต่างๆ ที่สำคัญลิงค์เหล่านี้สามารถเป็นได้ทั้งมัลแวร์ที่แฝงเข้ามาโจรกรรมข้อมูลในเครื่อง หรือแรมซัมแวร์ที่ทำให้อุปกรณ์มีปัญหา และเรียกค่าไถ่หากต้องการให้อุปกรณ์นี้กลับมาเป็นปกติ"
อย่างไรก็ตามจากสถิติยังพบว่าในช่วงไตรมาส 1–3 ของปี 2557 มีโทรศัพท์มือถือถูกโจมตีโดยมัลแวร์ถึง 2.3 ล้านครั้ง และทั้งปีมีผู้บริโภคทั่วไป และองค์กรต่างๆ ติดแรนซัมแวร์ 152 ครั้ง โดยส่วนใหญ่ติดมาจากอีเมล กับเว็บโซต์ รวมถึงแอดแวร์ หรือมัลแวร์ที่มาจากลิงค์โฆษณาที่จ้องเล่นงานกลุ่มออนไลน์แบงกิ้งเป็นพิเศษ
_____________________________________________________
"เทรนด์ไมโคร" เตือนไทยเสี่ยงคลิกมัลแวร์ ภาครัฐ-โทรคมนาคม–การศึกษา เจอเยอะสุด
ผู้สื่อข่าว "ประชาชาติธุรกิจ" รายงานว่า เทรนด์ไมโคร ผู้ให้บริการโซลูชั่นด้านความปลอดภัย ได้ทำการสำรวจภัยอันตรายบนโลกออนไลน์ในประเทศไทย และพบว่าอัตราการคลิกลิงค์เข้าสู่เว็บไซต์ที่อันตรายในไทยในปี 2557 มีอัตราสูงขึ้น
นางสาวแม็กกี้ ครูซ หัวหน้าทีมด้านความปลอดภัยเฉพาะทาง ฝ่ายการตลาดคอร์เทคโนโลยี เทรนด์ไมโคร เปิดเผยว่า ในปี 2557 อัตราการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน ผ่านการใช้คอมพิวเตอร์ และโมบายอินเทอร์เน็ตที่มีราคาถูกลง ซึ่งากพฤติกรรมนี้ ทำให้สถิติการเข้าถึงเว็บไซต์อันตราย (Malicious Sites) เพิ่มขึ้นเช่นกัน
"ไตรมาสแรกของปี 2557 เทรนด์ไมโครตรวจพบการคลิกเข้าเว็บไซต์อันตรายทั้งหมด 4.5 ล้านครั้ง ส่วนในไตรมาส 2 เพิ่มขึ้นเป็น 5.4 ล้านครั้ง และในไตรมาส 3 สูงขึ้นเป็น 7.1 ล้านครั้ง และในไตรมาสสุดท้ายมีถึง 7.6 ล้านครั้ง ซึ่งลิงก์ทั้งหมดนี้ ถูกเข้าถึงจากผู้บริโภคทั่วไป และองค์กรต่างๆ ที่สำคัญลิงค์เหล่านี้สามารถเป็นได้ทั้งมัลแวร์ที่แฝงเข้ามาโจรกรรมข้อมูลในเครื่อง หรือแรมซัมแวร์ที่ทำให้อุปกรณ์มีปัญหา และเรียกค่าไถ่หากต้องการให้อุปกรณ์นี้กลับมาเป็นปกติ"
อย่างไรก็ตามจากสถิติยังพบว่าในช่วงไตรมาส 1–3 ของปี 2557 มีโทรศัพท์มือถือถูกโจมตีโดยมัลแวร์ถึง 2.3 ล้านครั้ง และทั้งปีมีผู้บริโภคทั่วไป และองค์กรต่างๆ ติดแรนซัมแวร์ 152 ครั้ง โดยส่วนใหญ่ติดมาจากอีเมล กับเว็บโซต์ รวมถึงแอดแวร์ หรือมัลแวร์ที่มาจากลิงค์โฆษณาที่จ้องเล่นงานกลุ่มออนไลน์แบงกิ้งเป็นพิเศษ
ขณะเดียวกันในปี 2558 กลยุทธ์การโจมตีของกลุ่มอาชญากรไซเบอร์จะลงรายละเอียดไปรายพื้นที่มากขึ้น เช่นใช้ภาษาท้องถิ่นกับกลุ่มเป้าหมายที่จะโจมตี โดยกลุ่มที่มีความเสี่ยงที่จะโดนโจมตีมากที่สุดคือ กลุ่มภาครัฐ โทรคมนาคม และการศึกษา
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1423231248
"ไตรมาสแรกของปี 2557 เทรนด์ไมโครตรวจพบการคลิกเข้าเว็บไซต์อันตรายทั้งหมด 4.5 ล้านครั้ง ส่วนในไตรมาส 2 เพิ่มขึ้นเป็น 5.4 ล้านครั้ง และในไตรมาส 3 สูงขึ้นเป็น 7.1 ล้านครั้ง และในไตรมาสสุดท้ายมีถึง 7.6 ล้านครั้ง ซึ่งลิงก์ทั้งหมดนี้ ถูกเข้าถึงจากผู้บริโภคทั่วไป และองค์กรต่างๆ ที่สำคัญลิงค์เหล่านี้สามารถเป็นได้ทั้งมัลแวร์ที่แฝงเข้ามาโจรกรรมข้อมูลในเครื่อง หรือแรมซัมแวร์ที่ทำให้อุปกรณ์มีปัญหา และเรียกค่าไถ่หากต้องการให้อุปกรณ์นี้กลับมาเป็นปกติ"
อย่างไรก็ตามจากสถิติยังพบว่าในช่วงไตรมาส 1–3 ของปี 2557 มีโทรศัพท์มือถือถูกโจมตีโดยมัลแวร์ถึง 2.3 ล้านครั้ง และทั้งปีมีผู้บริโภคทั่วไป และองค์กรต่างๆ ติดแรนซัมแวร์ 152 ครั้ง โดยส่วนใหญ่ติดมาจากอีเมล กับเว็บโซต์ รวมถึงแอดแวร์ หรือมัลแวร์ที่มาจากลิงค์โฆษณาที่จ้องเล่นงานกลุ่มออนไลน์แบงกิ้งเป็นพิเศษ
_____________________________________________________
"เทรนด์ไมโคร" เตือนไทยเสี่ยงคลิกมัลแวร์ ภาครัฐ-โทรคมนาคม–การศึกษา เจอเยอะสุด
ผู้สื่อข่าว "ประชาชาติธุรกิจ" รายงานว่า เทรนด์ไมโคร ผู้ให้บริการโซลูชั่นด้านความปลอดภัย ได้ทำการสำรวจภัยอันตรายบนโลกออนไลน์ในประเทศไทย และพบว่าอัตราการคลิกลิงค์เข้าสู่เว็บไซต์ที่อันตรายในไทยในปี 2557 มีอัตราสูงขึ้น
นางสาวแม็กกี้ ครูซ หัวหน้าทีมด้านความปลอดภัยเฉพาะทาง ฝ่ายการตลาดคอร์เทคโนโลยี เทรนด์ไมโคร เปิดเผยว่า ในปี 2557 อัตราการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน ผ่านการใช้คอมพิวเตอร์ และโมบายอินเทอร์เน็ตที่มีราคาถูกลง ซึ่งากพฤติกรรมนี้ ทำให้สถิติการเข้าถึงเว็บไซต์อันตราย (Malicious Sites) เพิ่มขึ้นเช่นกัน
"ไตรมาสแรกของปี 2557 เทรนด์ไมโครตรวจพบการคลิกเข้าเว็บไซต์อันตรายทั้งหมด 4.5 ล้านครั้ง ส่วนในไตรมาส 2 เพิ่มขึ้นเป็น 5.4 ล้านครั้ง และในไตรมาส 3 สูงขึ้นเป็น 7.1 ล้านครั้ง และในไตรมาสสุดท้ายมีถึง 7.6 ล้านครั้ง ซึ่งลิงก์ทั้งหมดนี้ ถูกเข้าถึงจากผู้บริโภคทั่วไป และองค์กรต่างๆ ที่สำคัญลิงค์เหล่านี้สามารถเป็นได้ทั้งมัลแวร์ที่แฝงเข้ามาโจรกรรมข้อมูลในเครื่อง หรือแรมซัมแวร์ที่ทำให้อุปกรณ์มีปัญหา และเรียกค่าไถ่หากต้องการให้อุปกรณ์นี้กลับมาเป็นปกติ"
อย่างไรก็ตามจากสถิติยังพบว่าในช่วงไตรมาส 1–3 ของปี 2557 มีโทรศัพท์มือถือถูกโจมตีโดยมัลแวร์ถึง 2.3 ล้านครั้ง และทั้งปีมีผู้บริโภคทั่วไป และองค์กรต่างๆ ติดแรนซัมแวร์ 152 ครั้ง โดยส่วนใหญ่ติดมาจากอีเมล กับเว็บโซต์ รวมถึงแอดแวร์ หรือมัลแวร์ที่มาจากลิงค์โฆษณาที่จ้องเล่นงานกลุ่มออนไลน์แบงกิ้งเป็นพิเศษ
ขณะเดียวกันในปี 2558 กลยุทธ์การโจมตีของกลุ่มอาชญากรไซเบอร์จะลงรายละเอียดไปรายพื้นที่มากขึ้น เช่นใช้ภาษาท้องถิ่นกับกลุ่มเป้าหมายที่จะโจมตี โดยกลุ่มที่มีความเสี่ยงที่จะโดนโจมตีมากที่สุดคือ กลุ่มภาครัฐ โทรคมนาคม และการศึกษา
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1423231248
ไม่มีความคิดเห็น: