26 เมษายน 2556 อำลาระบบ CDMA800 คืนนี้(ดับระบบทั้งประเทศ)!! CAT ชี้ทนค่าใช้จากดูแลระบบ100ลบ.ต่อเดือนไม่ไหว(เศษเหล็ก)(ค่ายใหญ่บล๊อกโทร)
ประเด็นหลัก
ประเด็นหลัก
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการ (บอร์ด) กสท เมื่อวันที่ 31 มกราคมที่ผ่านมา ได้มีมติให้เลื่อนเวลาการปิดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบซีดีเอ็มเอ จากเดิมที่กำหนดปิดบริการในวันที่ 27 มกราคม 2556 ไปเป็นวันที่ 26 เมษายน 2556 เนื่องจากมีลูกค้าค้างการใช้งานอยู่ประมาณ 1.6 แสนราย แบ่งเป็นลูกค้าในส่วนกลางจำนวนราว 4 หมื่นราย และในส่วนภูมิภาคราว 1.2 แสนราย และในระหว่างนี้ทาง กสท จะเจรจากับทางสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อขอให้ กสท ใช้แผนการตลาดจูงใจในการโอนย้ายลูกค้ามาใช้บริการ 3จีมาย บนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์ ของ กสท ต่อไป
นายกิตติศักดิ์กล่าวว่า บอร์ดยังได้อนุมัติงบประมาณ 150 ล้านบาท ในการบริการโครงข่ายของบริการในระบบซีดีเอ็มเอ จนกว่าจะสิ้นสุดการให้บริการ โดยแบ่งเป็นการบริหารโครงข่ายในส่วนกลาง 7 ล้านบาท และในส่วนภูมิภาค 143 ล้านบาท รวมทั้งได้มีการอนุมัติงบประมาณจำนวน 200 ล้านบาทในการทำแผนการตลาดจูงใจให้ลูกค้า มาใช้บริการ 3จีมาย และอีก 350 ล้านบาทเพื่อจัดหาอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่รองรับบริการ 3จีมาย
"หากโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเอยังคงเปิดใช้อยู่จะสร้างความเสียหายในการดูแลลูกค้าเฉลี่ยอยู่ที่ 100 ล้านบาทต่อเดือน และมีแนวโน้มที่ความเสียหายจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ กสท ได้ให้ความสำคัญดูแลลูกค้าและการบริหารจัดการองค์กร เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด และถูกต้องตามกฎระเบียบของทางราชการ" นายกิตติศักดิ์กล่าว
ส่วนสาเหตุที่ กสท ต้องรีบดำเนินการปิดระบบซีดีเอ็มเอเนื่องจากหากยังเปิดให้บริการโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเออยู่จะสร้างความเสียหายในการดูแลลูกค้ากว่า 100 ล้านบาทต่อเดือนทั้งในส่วนกลางและต่างจังหวัดและเชื่อว่าจะสร้างความเสียหายสูงขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ กสท ได้ให้ความใส่ใจในการดูแลลูกค้าและการบริหารจัดการองค์กรให้เกิดประโยชน์สูงสุด และถูกต้องตามระเบียบขั้นตอนราชการเนื่องจากอยู่ภายใต้การบริหารงานของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที)
"ถึงแม้สัญญาระหว่าง กสท ที่ทำร่วมกับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น บนความถี่ 850 MHz ซึ่งปัจจุบันยังคงมีปัญหาในเรื่องของข้อกฏหมายในสัญญาที่ต้องมีการตรวจสอบ และกำลังอยู่ในกระบวนการพิจารณาจากหลายหน่วยงานอยู่ซึ่งมีความไม่แน่นอนอยู่นั้น แต่ กสท ก็ต้องบริหารความไม่แน่นอนให้งานออกมาดีที่สุด ถ้าต่อไปตัวสัญญาดังกล่าวไม่มีปัญหาแล้วเราต้องแบกภาระ 2 โครงข่าย กสท ก็จะมีปัญหาอยู่ดี ทุกมิติมีปัญหาหมด ก็ต้องหาทางที่สมดุลย์ที่สุด"
ดีเอสไอตรวจสอบสัญญาการซื้อขายกิจการระหว่าง กสท กับกลุ่มฮัทช์ ว่าทำไมถึงไม่ถูกดำเนินการตามสัญญาทั้งๆ ที่มีการเซ็นสัญญาผูกพันกันไปแล้ว จนทำให้เป็นการเปิดโอกาสให้กลุ่มทรูเข้าซื้อกิจการฮัทช์ได้สำเร็จ โดยระยะเวลาเนิ่นานกว่า 6-7 เดือนแล้วก็ยังไม่ได้คำตอบเช่นกัน รวมทั้งยังมีประเด็นที่ควรมีคนรับผิดชอบอย่างกรณี กสท ลงทุนระบบซีดีเอ็มเอ 51 จังหวัดไป 7 พันล้านบาท แต่ให้บริการไปยังไม่ถึงจุดคุ้มทุนก็เลิกระบบหันไปหา HSPA+ แทน ในขณะที่สัญญากับกลุ่มทรูยังคลุมเครือและถูกตรวจสอบ กลับมีการทยอยรื้อถอนระบบซีดีเอ็มเอที่เป็นทรัพย์สินของ กสท เปลี่ยนเป็น HSPA+ ซึ่งหากท้ายสุดสรุปว่าสัญญา HSPA+ ผิดก็สมควรต้องมีคนรับผิดชอบในเรื่องนี้เช่นกัน
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ได้ลงนามการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) หรือ IC โดยทำข้อตกลงระหว่าง 2 คู่กับผู้ประกอบการ ประกอบด้วย กสท กับ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส และ กสท กับ บริษัท โทลเทิล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน จำกัด (มหาชน) หรือดีแทค ในอัตรานาทีละ 0.50 บาท โดยทั้งสองคู่ได้ทำตามคำสั่งของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม หรือ กทช. ที่ได้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท IC ด้วยการกำหนดอัตราดังกล่าว
นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าวว่า กสท ตกลงใช้ IC ครั้งนี้จะเป็นการแก้ปัญหาลูกค้า CDMA 51 จังหวัด และลูกค้าของ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด หรือฮัทช์ ใน 25 จังหวัดโทรหาดีแทค และเอไอเอสยาก โดยหลังจากนี้ลูกค้าจะได้รับบริการโทร.ข้ามเครือข่ายไปหา 2 ผู้ให้บริการงานขึ้น
“ที่ผ่านมามีผู้ใช้บริการร้องเรียนใช้บริการโทร.ข้ามโครงข่ายยาก เพราะ กสท ไม่ได้ใช้ IC ร่วมกับผู้ประกอบการรายอื่นส่งผลให้วงจรเชื่อมโยงตรง ไม่สามารถให้บริการเพียงพอรองรับความต้องการใช้บริการ “
ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรองรับต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการใช้ IC ที่ผ่านมาได้มีการทยอยปรับค่าบริการของ CDMA และฮัทช์ เพิ่มขึ้นให้เท่ากันหรือสูงกว่าต้นทุนดังกล่าว ส่วนโปรโมชันลักษณะบุฟเฟ่ต์นั้นจำเป็นต้องยกเลิกเพราะค่าบริการต่ำกว่าต้นทุน IC
อย่างไรก็ดี กสท ยังไม่สามารถเจรจาใช้ IC ร่วมกับ บริษัท ทรูมูฟ จำกัด ได้ลงตัว เนื่องจากทรูมูฟไม่เห็นด้วยกับอัตรา 0.50 บาท โดยต้องการได้ค่า IC สูงกว่า ดีแทคและเอไอเอส โดยอ้างว่ามีโครงข่ายเล็กกว่า โดยขณะนี้ กสท ยังคงอยู่ระหว่างเจรจากับทรูมูฟต่อไปจนกว่าจะมีข้อสรุป
นายวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้าคณะผู้บริหาร เอไอเอส กล่าวว่า การปรับลดค่า IC ระหว่างกันของเอไอเอส ดีแทค และทรูมูฟ จาก 1 บาทเป็น 0.50 บาทเท่ากับ กสท นั้นอาจจะเป็นไปได้ในอนาคต แต่ขึ้นอยู่กับว่ารายใดรายหนึ่งมีความต้องการเจรจาของปรับลด โดยขณะนี้ยังไม่ได้มีการเจรจา ส่วนอัตรา 0.50 บาทนั้นเป็นต้นทุนที่รับได้หรือไม่ยังไม่สามารถตอบได้เพราะต้องมีการศึกษาและคำนวณก่อน
นายธนา เธียรอัจฉริยะ รองประธานเจ้าหน้าบริหาร กลยุทธ์องค์กร ดีแทค กล่าวว่า หาก กทช.ประกาศบังคับให้ใช้ IC ที่ 0.50 บาท ก็เป็นเรี่องที่รับได้หาก กทช.เป็นผู้ที่มีอำนาจบังคับใช้ ส่วนข้อตกลงใช้ IC ระหว่างดีแทค และ กสท มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่ 1 ก.ค.53
“การลด IC จะต้องเป็นการเจรจากันเป็นคู่ อย่างกรณีที่ผ่านมาทรูมูฟต้องการจ่าย IC ให้ดีแทค เอไอเอส 0.50 บาท แต่ขณะเดียวทรูมูฟกับต้องการให้ ดีแทค เอไอเอสจ่ายค่า IC กลับที่ 1 บาท กรณีนี้การเจรจายังไม่สามารถหาข้อยุติได้ต้องให้ กทช.เป็นผู้ระงับข้อพิพาทด้วยการกำหนดค่า IC ให้”
จิรายุทธ รุ่งศรีทอง กล่าวผ่าน ASTV ผู้จัดการออนไลน์ ว่า ราคาที่กลุ่มทรูซื้อฮัทช์ ถือเป็นราคาที่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับราคา 7,200 ล้านบาท ที่ กสท ตกลงซื้อในตอนแรก เพราะ กสท ได้รับอนุมัติจาก ครม. ให้ซื้อฮัทช์ในวงเงินประมาณ 200 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือราว 7,200 ล้านบาท และเนื่องจากการเจรจาซื้อขายอิงเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ทำให้มีความผันผวนตามค่าเงิน ซึ่งตัวเลขสุดท้ายหาก กสท ซื้อฮัทช์จะอยู่ที่ประมาณ 6 พันกว่าล้านบาทเท่านั้น
การเปิดเผยสัญญา ดังกล่าว นับเป็นเรื่องที่คาดไม่ถึง เนื่องจากการเจรจาซื้อขายในขณะนั้น จิรายุทธ ซึ่งบินไปถึงฮ่องกง เพื่อเจรจาต่อรองซื้อขายกับฮัทช์ และจะด้วยเหตุผลใดก็แล้วแต่ ราคาของทั้งล็อตได้ถูกหั่นเหลือครึ่งเดียว!! ตอนนั้น จิรายุทธ กลับมาเปิดเผยว่า “เจรจาไม่สำเร็จ” เนื่องจากคำสั่งของ จุติ ณ เวลานั้น คือ ต้องซื้อในราคาไม่เกิน 4,000 ล้านบาท จากเดิมที่ตั้งไว้ 7500 ล้านบาท โดย จุติ ไกรฤกษ์ รมว.ICT ขณะนั้น กล่าวว่า ให้ตีราคาจากเศษเหล็ก ทำให้ จิรายุทธ ต้องออกมาโต้ทันควันว่า หากเปรียบฮัทช์เป็นเศษเหล็ก แล้วโครงข่ายที่อายุ 20 ปี จะเรียกว่าอะไร
อติ รุฒน์ โตทวีแสนสุข กรรมการผู้จัดการธุรกิจโมบายล์ บมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น กล่าวกับ TJ ว่า เรื่องที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ตนมองว่า เป็นเรื่องของการเมือง และมั่นใจว่า True ทำทุกอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
“ผมว่าจริงๆ แล้วคนส่วนใหญ่จะทราบดีว่า เป็นเรื่องของการเมืองมากกว่า เวลาที่เราจะทำอะไรก็ตาม เราจะต้องพิจารณาว่าเรื่องนั้นถูกต้อง และตรวจสอบได้ รวมถึงเป็นไปตามขั้นตอนของกฎหมาย อย่างถูกต้อง นี่เป็นสิ่งสำคัญอันดับแรก ในเรื่องนี้ เรามีความมั่นใจ และเชื่อว่าผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ล้วนทำด้วยความสุจริต และคิดถึงประโยชน์ต่อองค์กร และหน่วยงานของตน ผมเชื่อว่า การกระทำเหล่านี้ มันสามารถที่จะตรวจสอบ และก็สามารถที่จะหาข้อเท็จจริงได้”
ใน ด้านผลกระทบต่อลูกค้า อติรุฒน์ กล่าวว่า “ เรื่องนี้ไม่มีผลกระทบกระทบอย่างไรต่อผู้ใช้บริการอยู่แล้ว ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นในกระบวนการ ขั้นตอนการตรวจสอบก็ตาม เนื่องจากขั้นตอนการตรวจสอบต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร และเราก็ยินดี ในการที่จะให้หน่วยงานต่างๆ เข้ามาตรวจสอบ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานที่แต่งตั้งโดย ป.ป.ช. หรือหน่วยงานไหนก็ตาม สามารถเข้ามาตรวจสอบได้ เพราะเรามีความโปร่งใสในเรื่องเหล่านี้”
เขา กล่าวต่อว่า “ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ต่างทำไปด้วยความสุจริต และคิดถึงประโยชน์ต่อองค์กร และหน่วยงานของตนเอง โดยสิ่งเหล่านี้สามารถตรวจสอบ และหาข้อเท็จจริงได้ ซึ่ง ทรู ก็ยินดีที่จะให้หน่วยงานต่างๆ เข้ามาตรวจสอบ”
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/19-2556-ic-cat.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/31-2556-catcdmacdma-7.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/29-2556-cat-promoton-200-cat-cdma-my.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/21-2556-cdma-true-cat-truehutch.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/02/11-2556-catcdmamy18004g-mvno-3g-4g.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/02/1-2556-cat-cat100-cdma-26-350.html
http://somagawn.blogspot.com/2012/10/19-2555-cat-bfkt-and-realmovetrue.html
ประเด็นหลัก
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการ (บอร์ด) กสท เมื่อวันที่ 31 มกราคมที่ผ่านมา ได้มีมติให้เลื่อนเวลาการปิดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบซีดีเอ็มเอ จากเดิมที่กำหนดปิดบริการในวันที่ 27 มกราคม 2556 ไปเป็นวันที่ 26 เมษายน 2556 เนื่องจากมีลูกค้าค้างการใช้งานอยู่ประมาณ 1.6 แสนราย แบ่งเป็นลูกค้าในส่วนกลางจำนวนราว 4 หมื่นราย และในส่วนภูมิภาคราว 1.2 แสนราย และในระหว่างนี้ทาง กสท จะเจรจากับทางสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อขอให้ กสท ใช้แผนการตลาดจูงใจในการโอนย้ายลูกค้ามาใช้บริการ 3จีมาย บนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์ ของ กสท ต่อไป
นายกิตติศักดิ์กล่าวว่า บอร์ดยังได้อนุมัติงบประมาณ 150 ล้านบาท ในการบริการโครงข่ายของบริการในระบบซีดีเอ็มเอ จนกว่าจะสิ้นสุดการให้บริการ โดยแบ่งเป็นการบริหารโครงข่ายในส่วนกลาง 7 ล้านบาท และในส่วนภูมิภาค 143 ล้านบาท รวมทั้งได้มีการอนุมัติงบประมาณจำนวน 200 ล้านบาทในการทำแผนการตลาดจูงใจให้ลูกค้า มาใช้บริการ 3จีมาย และอีก 350 ล้านบาทเพื่อจัดหาอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่รองรับบริการ 3จีมาย
"หากโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเอยังคงเปิดใช้อยู่จะสร้างความเสียหายในการดูแลลูกค้าเฉลี่ยอยู่ที่ 100 ล้านบาทต่อเดือน และมีแนวโน้มที่ความเสียหายจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ กสท ได้ให้ความสำคัญดูแลลูกค้าและการบริหารจัดการองค์กร เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด และถูกต้องตามกฎระเบียบของทางราชการ" นายกิตติศักดิ์กล่าว
ส่วนสาเหตุที่ กสท ต้องรีบดำเนินการปิดระบบซีดีเอ็มเอเนื่องจากหากยังเปิดให้บริการโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเออยู่จะสร้างความเสียหายในการดูแลลูกค้ากว่า 100 ล้านบาทต่อเดือนทั้งในส่วนกลางและต่างจังหวัดและเชื่อว่าจะสร้างความเสียหายสูงขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ กสท ได้ให้ความใส่ใจในการดูแลลูกค้าและการบริหารจัดการองค์กรให้เกิดประโยชน์สูงสุด และถูกต้องตามระเบียบขั้นตอนราชการเนื่องจากอยู่ภายใต้การบริหารงานของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที)
"ถึงแม้สัญญาระหว่าง กสท ที่ทำร่วมกับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น บนความถี่ 850 MHz ซึ่งปัจจุบันยังคงมีปัญหาในเรื่องของข้อกฏหมายในสัญญาที่ต้องมีการตรวจสอบ และกำลังอยู่ในกระบวนการพิจารณาจากหลายหน่วยงานอยู่ซึ่งมีความไม่แน่นอนอยู่นั้น แต่ กสท ก็ต้องบริหารความไม่แน่นอนให้งานออกมาดีที่สุด ถ้าต่อไปตัวสัญญาดังกล่าวไม่มีปัญหาแล้วเราต้องแบกภาระ 2 โครงข่าย กสท ก็จะมีปัญหาอยู่ดี ทุกมิติมีปัญหาหมด ก็ต้องหาทางที่สมดุลย์ที่สุด"
ดีเอสไอตรวจสอบสัญญาการซื้อขายกิจการระหว่าง กสท กับกลุ่มฮัทช์ ว่าทำไมถึงไม่ถูกดำเนินการตามสัญญาทั้งๆ ที่มีการเซ็นสัญญาผูกพันกันไปแล้ว จนทำให้เป็นการเปิดโอกาสให้กลุ่มทรูเข้าซื้อกิจการฮัทช์ได้สำเร็จ โดยระยะเวลาเนิ่นานกว่า 6-7 เดือนแล้วก็ยังไม่ได้คำตอบเช่นกัน รวมทั้งยังมีประเด็นที่ควรมีคนรับผิดชอบอย่างกรณี กสท ลงทุนระบบซีดีเอ็มเอ 51 จังหวัดไป 7 พันล้านบาท แต่ให้บริการไปยังไม่ถึงจุดคุ้มทุนก็เลิกระบบหันไปหา HSPA+ แทน ในขณะที่สัญญากับกลุ่มทรูยังคลุมเครือและถูกตรวจสอบ กลับมีการทยอยรื้อถอนระบบซีดีเอ็มเอที่เป็นทรัพย์สินของ กสท เปลี่ยนเป็น HSPA+ ซึ่งหากท้ายสุดสรุปว่าสัญญา HSPA+ ผิดก็สมควรต้องมีคนรับผิดชอบในเรื่องนี้เช่นกัน
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ได้ลงนามการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) หรือ IC โดยทำข้อตกลงระหว่าง 2 คู่กับผู้ประกอบการ ประกอบด้วย กสท กับ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส และ กสท กับ บริษัท โทลเทิล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน จำกัด (มหาชน) หรือดีแทค ในอัตรานาทีละ 0.50 บาท โดยทั้งสองคู่ได้ทำตามคำสั่งของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม หรือ กทช. ที่ได้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท IC ด้วยการกำหนดอัตราดังกล่าว
นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าวว่า กสท ตกลงใช้ IC ครั้งนี้จะเป็นการแก้ปัญหาลูกค้า CDMA 51 จังหวัด และลูกค้าของ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด หรือฮัทช์ ใน 25 จังหวัดโทรหาดีแทค และเอไอเอสยาก โดยหลังจากนี้ลูกค้าจะได้รับบริการโทร.ข้ามเครือข่ายไปหา 2 ผู้ให้บริการงานขึ้น
“ที่ผ่านมามีผู้ใช้บริการร้องเรียนใช้บริการโทร.ข้ามโครงข่ายยาก เพราะ กสท ไม่ได้ใช้ IC ร่วมกับผู้ประกอบการรายอื่นส่งผลให้วงจรเชื่อมโยงตรง ไม่สามารถให้บริการเพียงพอรองรับความต้องการใช้บริการ “
ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรองรับต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการใช้ IC ที่ผ่านมาได้มีการทยอยปรับค่าบริการของ CDMA และฮัทช์ เพิ่มขึ้นให้เท่ากันหรือสูงกว่าต้นทุนดังกล่าว ส่วนโปรโมชันลักษณะบุฟเฟ่ต์นั้นจำเป็นต้องยกเลิกเพราะค่าบริการต่ำกว่าต้นทุน IC
อย่างไรก็ดี กสท ยังไม่สามารถเจรจาใช้ IC ร่วมกับ บริษัท ทรูมูฟ จำกัด ได้ลงตัว เนื่องจากทรูมูฟไม่เห็นด้วยกับอัตรา 0.50 บาท โดยต้องการได้ค่า IC สูงกว่า ดีแทคและเอไอเอส โดยอ้างว่ามีโครงข่ายเล็กกว่า โดยขณะนี้ กสท ยังคงอยู่ระหว่างเจรจากับทรูมูฟต่อไปจนกว่าจะมีข้อสรุป
นายวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้าคณะผู้บริหาร เอไอเอส กล่าวว่า การปรับลดค่า IC ระหว่างกันของเอไอเอส ดีแทค และทรูมูฟ จาก 1 บาทเป็น 0.50 บาทเท่ากับ กสท นั้นอาจจะเป็นไปได้ในอนาคต แต่ขึ้นอยู่กับว่ารายใดรายหนึ่งมีความต้องการเจรจาของปรับลด โดยขณะนี้ยังไม่ได้มีการเจรจา ส่วนอัตรา 0.50 บาทนั้นเป็นต้นทุนที่รับได้หรือไม่ยังไม่สามารถตอบได้เพราะต้องมีการศึกษาและคำนวณก่อน
นายธนา เธียรอัจฉริยะ รองประธานเจ้าหน้าบริหาร กลยุทธ์องค์กร ดีแทค กล่าวว่า หาก กทช.ประกาศบังคับให้ใช้ IC ที่ 0.50 บาท ก็เป็นเรี่องที่รับได้หาก กทช.เป็นผู้ที่มีอำนาจบังคับใช้ ส่วนข้อตกลงใช้ IC ระหว่างดีแทค และ กสท มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่ 1 ก.ค.53
“การลด IC จะต้องเป็นการเจรจากันเป็นคู่ อย่างกรณีที่ผ่านมาทรูมูฟต้องการจ่าย IC ให้ดีแทค เอไอเอส 0.50 บาท แต่ขณะเดียวทรูมูฟกับต้องการให้ ดีแทค เอไอเอสจ่ายค่า IC กลับที่ 1 บาท กรณีนี้การเจรจายังไม่สามารถหาข้อยุติได้ต้องให้ กทช.เป็นผู้ระงับข้อพิพาทด้วยการกำหนดค่า IC ให้”
จิรายุทธ รุ่งศรีทอง กล่าวผ่าน ASTV ผู้จัดการออนไลน์ ว่า ราคาที่กลุ่มทรูซื้อฮัทช์ ถือเป็นราคาที่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับราคา 7,200 ล้านบาท ที่ กสท ตกลงซื้อในตอนแรก เพราะ กสท ได้รับอนุมัติจาก ครม. ให้ซื้อฮัทช์ในวงเงินประมาณ 200 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือราว 7,200 ล้านบาท และเนื่องจากการเจรจาซื้อขายอิงเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ทำให้มีความผันผวนตามค่าเงิน ซึ่งตัวเลขสุดท้ายหาก กสท ซื้อฮัทช์จะอยู่ที่ประมาณ 6 พันกว่าล้านบาทเท่านั้น
การเปิดเผยสัญญา ดังกล่าว นับเป็นเรื่องที่คาดไม่ถึง เนื่องจากการเจรจาซื้อขายในขณะนั้น จิรายุทธ ซึ่งบินไปถึงฮ่องกง เพื่อเจรจาต่อรองซื้อขายกับฮัทช์ และจะด้วยเหตุผลใดก็แล้วแต่ ราคาของทั้งล็อตได้ถูกหั่นเหลือครึ่งเดียว!! ตอนนั้น จิรายุทธ กลับมาเปิดเผยว่า “เจรจาไม่สำเร็จ” เนื่องจากคำสั่งของ จุติ ณ เวลานั้น คือ ต้องซื้อในราคาไม่เกิน 4,000 ล้านบาท จากเดิมที่ตั้งไว้ 7500 ล้านบาท โดย จุติ ไกรฤกษ์ รมว.ICT ขณะนั้น กล่าวว่า ให้ตีราคาจากเศษเหล็ก ทำให้ จิรายุทธ ต้องออกมาโต้ทันควันว่า หากเปรียบฮัทช์เป็นเศษเหล็ก แล้วโครงข่ายที่อายุ 20 ปี จะเรียกว่าอะไร
อติ รุฒน์ โตทวีแสนสุข กรรมการผู้จัดการธุรกิจโมบายล์ บมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น กล่าวกับ TJ ว่า เรื่องที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ตนมองว่า เป็นเรื่องของการเมือง และมั่นใจว่า True ทำทุกอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
“ผมว่าจริงๆ แล้วคนส่วนใหญ่จะทราบดีว่า เป็นเรื่องของการเมืองมากกว่า เวลาที่เราจะทำอะไรก็ตาม เราจะต้องพิจารณาว่าเรื่องนั้นถูกต้อง และตรวจสอบได้ รวมถึงเป็นไปตามขั้นตอนของกฎหมาย อย่างถูกต้อง นี่เป็นสิ่งสำคัญอันดับแรก ในเรื่องนี้ เรามีความมั่นใจ และเชื่อว่าผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ล้วนทำด้วยความสุจริต และคิดถึงประโยชน์ต่อองค์กร และหน่วยงานของตน ผมเชื่อว่า การกระทำเหล่านี้ มันสามารถที่จะตรวจสอบ และก็สามารถที่จะหาข้อเท็จจริงได้”
ใน ด้านผลกระทบต่อลูกค้า อติรุฒน์ กล่าวว่า “ เรื่องนี้ไม่มีผลกระทบกระทบอย่างไรต่อผู้ใช้บริการอยู่แล้ว ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นในกระบวนการ ขั้นตอนการตรวจสอบก็ตาม เนื่องจากขั้นตอนการตรวจสอบต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร และเราก็ยินดี ในการที่จะให้หน่วยงานต่างๆ เข้ามาตรวจสอบ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานที่แต่งตั้งโดย ป.ป.ช. หรือหน่วยงานไหนก็ตาม สามารถเข้ามาตรวจสอบได้ เพราะเรามีความโปร่งใสในเรื่องเหล่านี้”
เขา กล่าวต่อว่า “ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ต่างทำไปด้วยความสุจริต และคิดถึงประโยชน์ต่อองค์กร และหน่วยงานของตนเอง โดยสิ่งเหล่านี้สามารถตรวจสอบ และหาข้อเท็จจริงได้ ซึ่ง ทรู ก็ยินดีที่จะให้หน่วยงานต่างๆ เข้ามาตรวจสอบ”
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/19-2556-ic-cat.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/31-2556-catcdmacdma-7.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/29-2556-cat-promoton-200-cat-cdma-my.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/21-2556-cdma-true-cat-truehutch.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/02/11-2556-catcdmamy18004g-mvno-3g-4g.html
http://somagawn.blogspot.com/2013/02/1-2556-cat-cat100-cdma-26-350.html
http://somagawn.blogspot.com/2012/10/19-2555-cat-bfkt-and-realmovetrue.html
_________________________________
1 กุมภาพันธ์ 2556 CAT สอนมวย
อนุดิษฐ์ CATจะรับผิดชอบ100
ล้านบาทต่อเดือนไม่ไหว+++ ต้องปิดตายระบบ CDMA 26
เมษายนเท่านั้น +++จูงใจลูกค้าสุดตัว350 ล้านบาท
ประเด็นหลัก
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ
กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า
ที่ประชุมคณะกรรมการ (บอร์ด) กสท เมื่อวันที่ 31
มกราคมที่ผ่านมา
ได้มีมติให้เลื่อนเวลาการปิดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบซีดีเอ็มเอ
จากเดิมที่กำหนดปิดบริการในวันที่ 27 มกราคม 2556
ไปเป็นวันที่ 26 เมษายน 2556
เนื่องจากมีลูกค้าค้างการใช้งานอยู่ประมาณ 1.6
แสนราย แบ่งเป็นลูกค้าในส่วนกลางจำนวนราว 4 หมื่นราย และในส่วนภูมิภาคราว 1.2
แสนราย และในระหว่างนี้ทาง กสท จะเจรจากับทางสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อขอให้ กสท
ใช้แผนการตลาดจูงใจในการโอนย้ายลูกค้ามาใช้บริการ 3จีมาย
บนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์ ของ กสท ต่อไป
นายกิตติศักดิ์กล่าวว่า
บอร์ดยังได้อนุมัติงบประมาณ 150 ล้านบาท
ในการบริการโครงข่ายของบริการในระบบซีดีเอ็มเอ จนกว่าจะสิ้นสุดการให้บริการ
โดยแบ่งเป็นการบริหารโครงข่ายในส่วนกลาง 7 ล้านบาท และในส่วนภูมิภาค 143
ล้านบาท รวมทั้งได้มีการอนุมัติงบประมาณจำนวน 200
ล้านบาทในการทำแผนการตลาดจูงใจให้ลูกค้า มาใช้บริการ 3จีมาย
และอีก 350
ล้านบาทเพื่อจัดหาอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่รองรับบริการ 3จีมาย
"หากโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเอยังคงเปิดใช้อยู่จะสร้างความเสียหายในการดูแลลูกค้าเฉลี่ยอยู่ที่
100 ล้านบาทต่อเดือน
และมีแนวโน้มที่ความเสียหายจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ กสท
ได้ให้ความสำคัญดูแลลูกค้าและการบริหารจัดการองค์กร เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
และถูกต้องตามกฎระเบียบของทางราชการ" นายกิตติศักดิ์กล่าว
ส่วนสาเหตุที่ กสท
ต้องรีบดำเนินการปิดระบบซีดีเอ็มเอเนื่องจากหากยังเปิดให้บริการโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเออยู่จะสร้างความเสียหายในการดูแลลูกค้ากว่า
100
ล้านบาทต่อเดือนทั้งในส่วนกลางและต่างจังหวัดและเชื่อว่าจะสร้างความเสียหายสูงขึ้นเรื่อยๆ
ในขณะที่ กสท ได้ให้ความใส่ใจในการดูแลลูกค้าและการบริหารจัดการองค์กรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
และถูกต้องตามระเบียบขั้นตอนราชการเนื่องจากอยู่ภายใต้การบริหารงานของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(ไอซีที)
"ถึงแม้สัญญาระหว่าง
กสท ที่ทำร่วมกับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น บนความถี่ 850 MHz ซึ่งปัจจุบันยังคงมีปัญหาในเรื่องของข้อกฏหมายในสัญญาที่ต้องมีการตรวจสอบ
และกำลังอยู่ในกระบวนการพิจารณาจากหลายหน่วยงานอยู่ซึ่งมีความไม่แน่นอนอยู่นั้น
แต่ กสท ก็ต้องบริหารความไม่แน่นอนให้งานออกมาดีที่สุด
ถ้าต่อไปตัวสัญญาดังกล่าวไม่มีปัญหาแล้วเราต้องแบกภาระ 2
โครงข่าย กสท ก็จะมีปัญหาอยู่ดี ทุกมิติมีปัญหาหมด
ก็ต้องหาทางที่สมดุลย์ที่สุด"
นอกจากนี้บอร์ดกสท ยังมีมติอนุมัติงบประมาณกว่า 350
ล้านบาท แบ่งเป็นงบประมาณจัดหาอุปกรณ์ในการทำแคมเปญโปรโมชันจำนวน 200
ล้านบาท และนำไปบริหารเน็ตเวิร์กโครงข่ายให้มีประสิทธิภาพจำนวน 150
ล้านบาท เพื่อนำมาช่วยจูงใจ และรองรับการโอนย้ายลูกค้าซีดีเอ็มเอ มายังระบบ 3G
My ซึ่งในตอนนี้มีลูกค้าเข้ามาใช้งานในระบบแล้วราว 150,000
ราย
__________________________________________
11 กุมภาพันธ์ 2556 (เปิดแผนสูง)
CATย้ำไม่โทษใคร++เร่งย้ายลูกค้าCDMAสู้MYด้วยโปรไม่สูง(แน่นอน!เอาคลื่น1800คืนทำ4G
พร้องให้บริการ MVNO 3G 4G )
ประเด็นหลัก
**เหตุผลที่ยืดการปิดระบบซีดีเอ็มเอ
สัญญาระบุให้ปิดระบบเดือนมกราคม
แต่ที่ประชุมได้มีมติให้ยืดระยะเวลาในการปิดระบบออกไปเป็นวันที่ 26
เมษายน 2556
เหตุผลที่ต้องยืดระยะเวลาออกไปเพราะเปลี่ยนระบบไม่ทันทำให้การเปลี่ยนระบบล่าช้า
ซึ่งก็มีหลายเหตุผลประกอบ โทษใครไม่ได้ทั้งนั้น
ซึ่งทางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ส่งหนังสือห้ามดำเนินการทำให้บอร์ดก็ไม่กล้าอนุมัติงบประมาณทุกอย่างถึงล่าช้า
ปัจจุบันจำนวนผู้ใช้เครือข่าย ซีดีเอ็มเอ ของ กสท ในขณะนี้อยู่ในระบบ 1.2
แสนราย เชื่อว่าภายในเดือนเมษายนที่ กสท
จะทำการปิดระบบจำนวนฐานลูกค้ากลุ่มนี้น่าจะย้ายไปสู่ระบบใหม่ได้ทันเนื่องจาก
กสทได้เสนอแพ็กเกจให้ลูกค้าด้วยการให้เครื่องฟรี และ
โปรโมชันในการโทร.ในอัตราไม่สูง
ซึ่งผู้ใช้บริการกลุ่มนี้จะย้ายค่ายไปยังระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบรนด์ MY ของ
กสท หรือ จะย้ายไปสู่ระบบที่อยู่ภายใต้ MVNO (Mobile Virtul Network
Operation: การทำตลาดแบบเสมือน)
** บริการอะไรตัวชูโรง
สิ่งที่ช่วยได้ในระยะสั้น คือ
การทำธุรกิจขายส่งโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปัจจุบันให้ ทรูมูฟ เอช ดำเนินการอยู่
แต่ในระยะยาว แคท จะเปิดกว้างในรูปแบบ MVNO ให้มากกว่าเดิมในเครือข่าย
850 เมกะเฮิรตซ์ หรือ เครือข่าย 1800
เมกะเฮิรตซ์
ขณะที่บริการคลาวด์คอมพิวติ้ง ตั้งรายได้ปีละ 100-1,000
ล้านบาท ซึ่งในปีที่ผ่านมา แคท
มีผลประกอบการขาดทุนประมาณ 3,300 ล้านบาท เพราะฉะนั้น แคท
จำเป็นต้องหางานขนาดใหญ่เพื่อจะเพิ่มรายได้กลับมือ คือ
โทรศัพท์เคลื่อนที่เทคโนโลยี HPSA บนคลื่นความถี่ 850
เมกะเฮิรตซ์และ แผนสิ้นสุดสัมปทาน คือ คลื่นความถี่ 1800
เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งสามารถให้บริการระบบ 4 จี ภายใต้เทคโนโลยี LTE
(Long-Term Evolution เป็นเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายความเร็วสูงเพื่อใช้
กับอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์มือถือที่เป็นสมาร์ทโฟน) โดยใช้โครงสร้างเดิมที่มีอยู่ และ
นำเครือข่ายดังกล่าวมาขายส่งให้กับเอกชนรายอื่น ๆ เข้ามาเช่าใช้บริการ
____________________________________
21 มกราคม 2556
ขยายเวลาปิดระบบ CDMA (มีนาคมนี้) TRUE ชี้
CAT ขอจัดการลูกค้าหลังบ้านก่อน (TRUEขอร้องลูกค้าHUTCHย้ายระบบด่วน)
ประเด็นหลัก
นายอติรุฒน์ โตทวีแสนสุข กรรมการผู้จัดการ
ธุรกิจโมบายล์ บมจ.ทรูคอร์ปอเรชั่น กล่าวว่า หลังจากที่ทรูคอร์ปฯ เข้าไปซื้อกิจการโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเอของบริษัท
ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส จำกัด หรือ ฮัทช์
ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือซีดีเอ็มเอในภาคกลางและกทม.25
จังหวัด และมีการลงนามเข้าซื้อกิจการตั้งแต่วันที่ 27
ม.ค.2554 ซึ่งในวันที่ 27
ม.ค.2556 จะครบช่วงการเยียวยาลูกค้าแล้ว ทำให้ทรูฯจำเป็นต้องปิดบริการระบบซีดีเอ็มเอ
และยกเลิกบริการฮัทช์ในทันที แต่บมจ.กสท โทรคมนาคม
คู่สัญญาของทรูฯได้ขอให้บริษัทขยายเวลาการปิดบริการออกไปเป็นเดือนมี.ค.นี้
เพราะต้องการจัดการระบบหลังการให้แล้วเสร็จก่อน
เขา กล่าวว่า
ปัจจุบันในระบบซีดีเอ็มเอภายใต้แบรนด์ ฮัทช์ มีลูกค้าค้างในระบบ 40,000
ราย ซึ่งทรูฯเอง พยายามเสนอโปรโมชั่น พร้อมเครื่องลูกค้าข่ายในระบบจีเอสเอ็ม
เพื่อจูงใจให้ลูกค้าโอนย้ายเข้ามาในระบบใหม่ทรูมูฟ เอช
แต่ลูกค้าก็ยังไม่ยอมโอนย้ายมา ดังนั้น
เมื่อถึงสิ้นเดือนมี.ค.ก็จำเป็นต้องปิดบริการลงทันที และะถือว่าไม่มีบริการซีเอ็มเอในประเทศไทยแล้ว
The Hutch service boosted its heavy call promotion to draw
in a huge number of subscribers quickly against the predominant three GSM
(Global System for Mobile Communications) cellular operators. Its subscriber
numbers peaked at 1 million many years ago.
But in 2010, CAT decided to take over Hutch's telecom
businesses in Thailand, including its network in 25 provinces, for Bt7.5
billion. The takeover plan won Cabinet approval. After their failure to reach a
final price agreement, the state agency changed its mind, paving the way for
True Group to acquire Hutch's businesses in 2011.
_________________________________________
29 มกราคม 2556 (ก่อนปิดระบบสิ้นมี.ค.นี้)CATจัดหนัก!!เตรียม200ล้านบาทให้ลูกค้าCAT
CDMAย้ายสู่ MY สนองทั้งค่าเครื่องและแพ็คเกจ
ประเด็นหลัก
ปัจจุบันลูกค้าที่ค้างอยู่ในระบบซีดีเอ็มเอ
แบ่งเป็นลูกค้าในระบบรายเดือน(โพสต์เพด) 20,000
ราย และลูกค้าระบบเติมเงิน (พรีเพด) 90,000 ราย
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ
กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า บริษัทจะใช้งบประมาณ 200
ล้านบาท เป็นมาตรการเยียายาในการปิดระบบโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเอในประเทศไทย
โดยมีแผนปิดระบบดังกล่าวสิ้นเดือนมี.ค.นี้
เงินจำนวนดังกล่าวจะใช้ทำแคมเปญจูงใจลูกค้า
"แคท ซีดีเอ็มเอ" ใน 51 จังหวัด ที่ค้างในระบบซีดีเอราว 1
ล้านราย แบ่งเป็นลูกค้าในระบบรายเดือน (โพสต์เพด) 20,000
ราย และลูกค้าระบบเติมเงิน (พรีเพด) 90,000 รายในการให้โปรโมชั่นแพ็คเกจ 3จีรวมเครื่องลูกข่ายในระบบจีเอสเอ็ม
อย่างไรก็ดี
คาดว่ามาตรการเยียวยาลูกค้าจะเริ่มได้เดือนก.พ.นี้ ซึ่งการที่ กสท
จำเป็นต้องจูงใจให้ลูกค้ามาอยู่ในระบบใหม่
เพราะต้องการให้ลูกค้าได้รับบริการต่อเนื่อง แต่ต้องยอมรับว่า
ลูกค้าที่ไม่ยอมเปลี่ยนมายังโครงข่ายใหม่ในแบรนด์ "มาย"
เพราะลูกค้าพอใจโปรโมชั่นระบบซีดีเอ็มเอที่ได้รับ ดังนั้น กสท
ต้องพยายามใช้งบจำนวนนี้ซับซิไดซ์ค่าเครื่องและแพ็คเกจ
"ปัจจุบันเราต้องเสียค่าบำรุงรักษาระบบซีดีเอ็มเอมากกว่าเดือนละ
70 ล้านบาท ขณะที่ลูกค้าใช้บริการลดลงเรื่อยๆ
ดังนั้น กสท จำเป็นต้องเทงบประมาณจำนวน 200 ล้านบาท มาเยียวลูกค้าให้โอนย้ายมายัง
'มาย' ทีเดียว และจะทำให้ กสท
ให้บริการโทรศัพท์ในระบบเดียวคือ 3จีบนคลื่นความถี่ 850
เมกะเฮิรตซ์บนเทคโนโลยีจีเอสเอ็ม"
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/29-2556-cat-promoton-200-cat-cdma-my.html
___________________________
31 มกราคม 2556
อนุดิษฐ์ ( กระโดดขว้าง )ค้านCATปิดระบบCDMAเหตุถ้ากฤษฎีกาส่งกลับว่าสัญญาผิดอีกละ++(ลูกค้าจะใช้ระบบอะไร)โอนช่วยหาคนรับผิดชอบด้วยใครคิดลงทุนCDMA
7พันล้านบาทยังจุดคุ้มทุนเลย
ประเด็นหลัก
“หาก
กสท.จะรีบดำเนินการย้ายลูกค้าจากซีดีเอ็มเอไปอยู่ 3G My ทั้งหมดทั้งๆ
ที่สัญญา 3G กสท-ทรูฉบับดังกล่าวยัง
ไม่ชัดเจน
จึงควรรอให้กฤษฎีกาตีความว่าผิดพ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่
เพราะหากผิดลูกค้าที่ย้ายมาอยู่บน 3G เท่ากับลอยแพลูกค้าอยู่กลางอากาศ
เนื่องจากปิดระบบเก่าไปแล้ว แถมระบบใหม่ก็ผิดกฎหมายอีก
แล้วแบบนี้ลูกค้าจะไปอยู่ไหน” น.อ.อนุดิษฐ์ กล่าว
รวมทั้งยังมีกรณีที่
รมว.ไอซีทีส่งเรื่องให้ดีเอสไอตรวจสอบสัญญาการซื้อขายกิจการระหว่าง กสท
กับกลุ่มฮัทช์ ว่าทำไมถึงไม่ถูกดำเนินการตามสัญญาทั้งๆ
ที่มีการเซ็นสัญญาผูกพันกันไปแล้ว
จนทำให้เป็นการเปิดโอกาสให้กลุ่มทรูเข้าซื้อกิจการฮัทช์ได้สำเร็จ
โดยระยะเวลาเนิ่นานกว่า 6-7 เดือนแล้วก็ยังไม่ได้คำตอบเช่นกัน
รวมทั้งยังมีประเด็นที่ควรมีคนรับผิดชอบอย่างกรณี กสท ลงทุนระบบซีดีเอ็มเอ 51
จังหวัดไป 7 พันล้านบาท
แต่ให้บริการไปยังไม่ถึงจุดคุ้มทุนก็เลิกระบบหันไปหา HSPA+ แทน
ในขณะที่สัญญากับกลุ่มทรูยังคลุมเครือและถูกตรวจสอบ กลับมีการทยอยรื้อถอนระบบซีดีเอ็มเอที่เป็นทรัพย์สินของ
กสท เปลี่ยนเป็น HSPA+ ซึ่งหากท้ายสุดสรุปว่าสัญญา HSPA+ ผิดก็สมควรต้องมีคนรับผิดชอบในเรื่องนี้เช่นกัน
http://somagawn.blogspot.com/2013/01/31-2556-catcdmacdma-7.html
___________________________
ประเด็นหลัก
___________________________
ประเด็นหลัก
วานนี้ (26 ส.ค.) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ได้ลงนามการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) หรือ IC โดยทำข้อตกลงระหว่าง 2 คู่กับผู้ประกอบการ ประกอบด้วย กสท กับ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส และ กสท กับ บริษัท โทลเทิล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน จำกัด (มหาชน) หรือดีแทค ในอัตรานาทีละ 0.50 บาท โดยทั้งสองคู่ได้ทำตามคำสั่งของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม หรือ กทช. ที่ได้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท IC ด้วยการกำหนดอัตราดังกล่าว
นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าวว่า กสท ตกลงใช้ IC ครั้งนี้จะเป็นการแก้ปัญหาลูกค้า CDMA 51 จังหวัด และลูกค้าของ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด หรือฮัทช์ ใน 25 จังหวัดโทรหาดีแทค และเอไอเอสยาก โดยหลังจากนี้ลูกค้าจะได้รับบริการโทร.ข้ามเครือข่ายไปหา 2 ผู้ให้บริการงานขึ้น
“ที่ผ่านมามีผู้ใช้บริการร้องเรียนใช้บริการโทร.ข้ามโครงข่ายยาก เพราะ กสท ไม่ได้ใช้ IC ร่วมกับผู้ประกอบการรายอื่นส่งผลให้วงจรเชื่อมโยงตรง ไม่สามารถให้บริการเพียงพอรองรับความต้องการใช้บริการ “
ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรองรับต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการใช้ IC ที่ผ่านมาได้มีการทยอยปรับค่าบริการของ CDMA และฮัทช์ เพิ่มขึ้นให้เท่ากันหรือสูงกว่าต้นทุนดังกล่าว ส่วนโปรโมชันลักษณะบุฟเฟ่ต์นั้นจำเป็นต้องยกเลิกเพราะค่าบริการต่ำกว่าต้นทุน IC
อย่างไรก็ดี กสท ยังไม่สามารถเจรจาใช้ IC ร่วมกับ บริษัท ทรูมูฟ จำกัด ได้ลงตัว เนื่องจากทรูมูฟไม่เห็นด้วยกับอัตรา 0.50 บาท โดยต้องการได้ค่า IC สูงกว่า ดีแทคและเอไอเอส โดยอ้างว่ามีโครงข่ายเล็กกว่า โดยขณะนี้ กสท ยังคงอยู่ระหว่างเจรจากับทรูมูฟต่อไปจนกว่าจะมีข้อสรุป
นายวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้าคณะผู้บริหาร เอไอเอส กล่าวว่า การปรับลดค่า IC ระหว่างกันของเอไอเอส ดีแทค และทรูมูฟ จาก 1 บาทเป็น 0.50 บาทเท่ากับ กสท นั้นอาจจะเป็นไปได้ในอนาคต แต่ขึ้นอยู่กับว่ารายใดรายหนึ่งมีความต้องการเจรจาของปรับลด โดยขณะนี้ยังไม่ได้มีการเจรจา ส่วนอัตรา 0.50 บาทนั้นเป็นต้นทุนที่รับได้หรือไม่ยังไม่สามารถตอบได้เพราะต้องมีการศึกษาและคำนวณก่อน
นายธนา เธียรอัจฉริยะ รองประธานเจ้าหน้าบริหาร กลยุทธ์องค์กร ดีแทค กล่าวว่า หาก กทช.ประกาศบังคับให้ใช้ IC ที่ 0.50 บาท ก็เป็นเรี่องที่รับได้หาก กทช.เป็นผู้ที่มีอำนาจบังคับใช้ ส่วนข้อตกลงใช้ IC ระหว่างดีแทค และ กสท มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่ 1 ก.ค.53
“การลด IC จะต้องเป็นการเจรจากันเป็นคู่ อย่างกรณีที่ผ่านมาทรูมูฟต้องการจ่าย IC ให้ดีแทค เอไอเอส 0.50 บาท แต่ขณะเดียวทรูมูฟกับต้องการให้ ดีแทค เอไอเอสจ่ายค่า IC กลับที่ 1 บาท กรณีนี้การเจรจายังไม่สามารถหาข้อยุติได้ต้องให้ กทช.เป็นผู้ระงับข้อพิพาทด้วยการกำหนดค่า IC ให้”
ไม่มีความคิดเห็น: