03 มกราคม 2559 TOT ตกลง AIS เรียบร้อย!!! คลื่นความถี่ย่าน 2100 เมกะเฮิรตซ์ จำนวน 15 เมกะเฮิรตซ์ การลงนามสัญญาเป็นระยะเวลา 10 ปี โดยมีเงื่อนไขว่า ต้องร่วมกันสร้างสถานีฐานเพิ่มขึ้นในระยะแรกอีก 10,000 สถานีฐาน จากเดิมที่ทีโอทีมีอยู่ 5,320 สถานีฐาน ระบุว่าเอไอเอสต้องจ่ายรายได้ขั้นต่ำให้ทีโอที 3,500 ล้านบาทต่อปี โดยเอไอเอสเป็นผู้สร้างโครงข่าย 80% ขณะที่ทีโอทีสร้าง 20%
ประเด็นหลัก
นายรังสรรค์กล่าวว่า นอกจากทีโอทีได้บรรลุข้อตกลงร่วมกับบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส ในการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกลุ่มธุรกิจโทรศัพท์มือถือ 3จี คลื่นความถี่ย่าน 2100 เมกะเฮิรตซ์ จำนวน 15 เมกะเฮิรตซ์ จะส่งผลให้ทีโอทีมีสถานีฐานเพิ่มขึ้นจากการที่เอไอเอสสร้างตามเงื่อนไขการเป็นพันธมิตร ทำให้ทีโอทีสามารถทำการตลาด 3จี ได้อย่างเต็มที่ รวมถึงการหาผู้เช่าใช้งานคลื่นความถี่ (เอ็มวีเอ็นโอ) รายใหม่ๆ เพิ่มขึ้นได้ด้วย รวมทั้งการที่ทีโอทีมีโครงข่าย 3จี เพิ่มขึ้น จะสามารถนำมาทำการตลาดได้กว้างขึ้นเพื่อขยายฐานลูกค้า ซึ่งปัจจุบันทีโอทีมีลูกค้า 3จี อยู่ราว 600,000 เลขหมาย
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้ นายมนต์ชัย หนูสง กรรมการผู้จัดการใหญ่ทีโอที ระบุว่า การเป็นพันธมิตรกับเอไอเอส เป็นการลงนามสัญญาเป็นระยะเวลา 10 ปี โดยมีเงื่อนไขว่า ต้องร่วมกันสร้างสถานีฐานเพิ่มขึ้นในระยะแรกอีก 10,000 สถานีฐาน จากเดิมที่ทีโอทีมีอยู่ 5,320 สถานีฐาน ส่วนรายได้ที่ทีโอทีจะได้นั้นแหล่งข่าวระดับสูงจากทีโอทีระบุว่าเอไอเอสต้องจ่ายรายได้ขั้นต่ำให้ทีโอที 3,500 ล้านบาทต่อปี โดยเอไอเอสเป็นผู้สร้างโครงข่าย 80% ขณะที่ทีโอทีสร้าง 20%
__________________________________________________________
"ทีโอที" ยิ้มรับ เปิดบ้านรอ "แจส-ทรู" ขอเช่าเสา 4 จี จ่อผันตัวมาเป็นผู้ให้เช่าแทน
ทีโอทีพร้อมเปิดบ้านรับ 2 ผู้ชนะประมูล 4จี คลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์ ทรู-แจส เจรจาเช่าใช้เสา แต่ยังสงวนท่า ออกตัวมากไม่ได้ต้องรอเอกชนแสดงท่าทีก่อน ชี้หากเป็นไปได้ธุรกิจเช่าเสาจะเป็นธุรกิจหลักในอนาคต
นายรังสรรค์ จันทร์นฤกุล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการตลาดและเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ยอมรับรับว่าทีโอทีจะได้รับอานิสงส์จากการประมูลคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ เนื่องจากปัจจุบันทีโอทีมีเสาโทรคมนาคมซึ่งได้รับโอนมอบทรัพย์สินจากข้อกำหนดของสัญญาสัมปทานคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์ จากบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส ในระบบ 2จี จำนวน 13,198 ต้น ส่งผลให้จากนี้ไปและในอนาคตธุรกิจของทีโอทีจะเปลี่ยนไปเป็นผู้ให้บริการด้านเสาโทรคมนาคมเพื่อหารายได้หลักให้องค์กรโดยทีโอทีพร้อมแล้วที่จะเจรจากับผู้ชนะการประมูลคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ ทั้ง 2 รายหากมีการติดต่อมา ไม่ว่าจะเป็นบริษัท แจส โมบาย บรอดแบนด์ จำกัด และบริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด
"ยอมรับว่าหลังจากสิ้นสุดสัญญาสัมปทานกับเอไอเอสไปเมื่อวันที่ 30 กันยายน ที่ผ่านมารายได้ทีโอทีหายเป็นจำนวนมาก ดังนั้น ทีโอทีจึงต้องเตรียมสำหรับการเจรจากับผู้ชนะการประมูล แต่ก็คงออกตัวได้ไม่มากนัก เพราะจะต้องมีการเจรจาต่อรองเพื่อให้ได้ราคาที่น่าพอใจ" นายรังสรรค์กล่าว
นายรังสรรค์กล่าวว่า นอกจากทีโอทีได้บรรลุข้อตกลงร่วมกับบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส ในการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกลุ่มธุรกิจโทรศัพท์มือถือ 3จี คลื่นความถี่ย่าน 2100 เมกะเฮิรตซ์ จำนวน 15 เมกะเฮิรตซ์ จะส่งผลให้ทีโอทีมีสถานีฐานเพิ่มขึ้นจากการที่เอไอเอสสร้างตามเงื่อนไขการเป็นพันธมิตร ทำให้ทีโอทีสามารถทำการตลาด 3จี ได้อย่างเต็มที่ รวมถึงการหาผู้เช่าใช้งานคลื่นความถี่ (เอ็มวีเอ็นโอ) รายใหม่ๆ เพิ่มขึ้นได้ด้วย รวมทั้งการที่ทีโอทีมีโครงข่าย 3จี เพิ่มขึ้น จะสามารถนำมาทำการตลาดได้กว้างขึ้นเพื่อขยายฐานลูกค้า ซึ่งปัจจุบันทีโอทีมีลูกค้า 3จี อยู่ราว 600,000 เลขหมาย
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้ นายมนต์ชัย หนูสง กรรมการผู้จัดการใหญ่ทีโอที ระบุว่า การเป็นพันธมิตรกับเอไอเอส เป็นการลงนามสัญญาเป็นระยะเวลา 10 ปี โดยมีเงื่อนไขว่า ต้องร่วมกันสร้างสถานีฐานเพิ่มขึ้นในระยะแรกอีก 10,000 สถานีฐาน จากเดิมที่ทีโอทีมีอยู่ 5,320 สถานีฐาน ส่วนรายได้ที่ทีโอทีจะได้นั้นแหล่งข่าวระดับสูงจากทีโอทีระบุว่าเอไอเอสต้องจ่ายรายได้ขั้นต่ำให้ทีโอที 3,500 ล้านบาทต่อปี โดยเอไอเอสเป็นผู้สร้างโครงข่าย 80% ขณะที่ทีโอทีสร้าง 20%
ที่มา : มติชนออนไลน์
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450926669
นายรังสรรค์กล่าวว่า นอกจากทีโอทีได้บรรลุข้อตกลงร่วมกับบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส ในการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกลุ่มธุรกิจโทรศัพท์มือถือ 3จี คลื่นความถี่ย่าน 2100 เมกะเฮิรตซ์ จำนวน 15 เมกะเฮิรตซ์ จะส่งผลให้ทีโอทีมีสถานีฐานเพิ่มขึ้นจากการที่เอไอเอสสร้างตามเงื่อนไขการเป็นพันธมิตร ทำให้ทีโอทีสามารถทำการตลาด 3จี ได้อย่างเต็มที่ รวมถึงการหาผู้เช่าใช้งานคลื่นความถี่ (เอ็มวีเอ็นโอ) รายใหม่ๆ เพิ่มขึ้นได้ด้วย รวมทั้งการที่ทีโอทีมีโครงข่าย 3จี เพิ่มขึ้น จะสามารถนำมาทำการตลาดได้กว้างขึ้นเพื่อขยายฐานลูกค้า ซึ่งปัจจุบันทีโอทีมีลูกค้า 3จี อยู่ราว 600,000 เลขหมาย
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้ นายมนต์ชัย หนูสง กรรมการผู้จัดการใหญ่ทีโอที ระบุว่า การเป็นพันธมิตรกับเอไอเอส เป็นการลงนามสัญญาเป็นระยะเวลา 10 ปี โดยมีเงื่อนไขว่า ต้องร่วมกันสร้างสถานีฐานเพิ่มขึ้นในระยะแรกอีก 10,000 สถานีฐาน จากเดิมที่ทีโอทีมีอยู่ 5,320 สถานีฐาน ส่วนรายได้ที่ทีโอทีจะได้นั้นแหล่งข่าวระดับสูงจากทีโอทีระบุว่าเอไอเอสต้องจ่ายรายได้ขั้นต่ำให้ทีโอที 3,500 ล้านบาทต่อปี โดยเอไอเอสเป็นผู้สร้างโครงข่าย 80% ขณะที่ทีโอทีสร้าง 20%
__________________________________________________________
"ทีโอที" ยิ้มรับ เปิดบ้านรอ "แจส-ทรู" ขอเช่าเสา 4 จี จ่อผันตัวมาเป็นผู้ให้เช่าแทน
ทีโอทีพร้อมเปิดบ้านรับ 2 ผู้ชนะประมูล 4จี คลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์ ทรู-แจส เจรจาเช่าใช้เสา แต่ยังสงวนท่า ออกตัวมากไม่ได้ต้องรอเอกชนแสดงท่าทีก่อน ชี้หากเป็นไปได้ธุรกิจเช่าเสาจะเป็นธุรกิจหลักในอนาคต
นายรังสรรค์ จันทร์นฤกุล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการตลาดและเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ยอมรับรับว่าทีโอทีจะได้รับอานิสงส์จากการประมูลคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ เนื่องจากปัจจุบันทีโอทีมีเสาโทรคมนาคมซึ่งได้รับโอนมอบทรัพย์สินจากข้อกำหนดของสัญญาสัมปทานคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์ จากบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส ในระบบ 2จี จำนวน 13,198 ต้น ส่งผลให้จากนี้ไปและในอนาคตธุรกิจของทีโอทีจะเปลี่ยนไปเป็นผู้ให้บริการด้านเสาโทรคมนาคมเพื่อหารายได้หลักให้องค์กรโดยทีโอทีพร้อมแล้วที่จะเจรจากับผู้ชนะการประมูลคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ ทั้ง 2 รายหากมีการติดต่อมา ไม่ว่าจะเป็นบริษัท แจส โมบาย บรอดแบนด์ จำกัด และบริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด
"ยอมรับว่าหลังจากสิ้นสุดสัญญาสัมปทานกับเอไอเอสไปเมื่อวันที่ 30 กันยายน ที่ผ่านมารายได้ทีโอทีหายเป็นจำนวนมาก ดังนั้น ทีโอทีจึงต้องเตรียมสำหรับการเจรจากับผู้ชนะการประมูล แต่ก็คงออกตัวได้ไม่มากนัก เพราะจะต้องมีการเจรจาต่อรองเพื่อให้ได้ราคาที่น่าพอใจ" นายรังสรรค์กล่าว
นายรังสรรค์กล่าวว่า นอกจากทีโอทีได้บรรลุข้อตกลงร่วมกับบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส ในการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกลุ่มธุรกิจโทรศัพท์มือถือ 3จี คลื่นความถี่ย่าน 2100 เมกะเฮิรตซ์ จำนวน 15 เมกะเฮิรตซ์ จะส่งผลให้ทีโอทีมีสถานีฐานเพิ่มขึ้นจากการที่เอไอเอสสร้างตามเงื่อนไขการเป็นพันธมิตร ทำให้ทีโอทีสามารถทำการตลาด 3จี ได้อย่างเต็มที่ รวมถึงการหาผู้เช่าใช้งานคลื่นความถี่ (เอ็มวีเอ็นโอ) รายใหม่ๆ เพิ่มขึ้นได้ด้วย รวมทั้งการที่ทีโอทีมีโครงข่าย 3จี เพิ่มขึ้น จะสามารถนำมาทำการตลาดได้กว้างขึ้นเพื่อขยายฐานลูกค้า ซึ่งปัจจุบันทีโอทีมีลูกค้า 3จี อยู่ราว 600,000 เลขหมาย
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้ นายมนต์ชัย หนูสง กรรมการผู้จัดการใหญ่ทีโอที ระบุว่า การเป็นพันธมิตรกับเอไอเอส เป็นการลงนามสัญญาเป็นระยะเวลา 10 ปี โดยมีเงื่อนไขว่า ต้องร่วมกันสร้างสถานีฐานเพิ่มขึ้นในระยะแรกอีก 10,000 สถานีฐาน จากเดิมที่ทีโอทีมีอยู่ 5,320 สถานีฐาน ส่วนรายได้ที่ทีโอทีจะได้นั้นแหล่งข่าวระดับสูงจากทีโอทีระบุว่าเอไอเอสต้องจ่ายรายได้ขั้นต่ำให้ทีโอที 3,500 ล้านบาทต่อปี โดยเอไอเอสเป็นผู้สร้างโครงข่าย 80% ขณะที่ทีโอทีสร้าง 20%
ที่มา : มติชนออนไลน์
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450926669
ไม่มีความคิดเห็น: