Header Ads

Screen-Shot-2561-02-24-at-11.53.29-PM.png
Breaking News
recent

29 เมษายน 2556 อนุดิษฐ์ กดดัน TOT ให้ทำสัปทาน จำแลงกับ AIS (หรือแบบเดียวกับCAT-TRUE) ชี้ที่ล้มเหลวเพราะ การลงทุนเป็นเฟส ไม่ลงทุนทั่วประเทศครอบคลุมความต้องการคนไทย

 ประเด็นหลัก


5.ใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์และโครงข่ายของทีโอทีที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อย่างกรณี การจัดตั้งบริษัท ทาวเวอร์โค ภายใต้บริษัท เอซีที โมบายล์ของทีโอทีเพื่อให้บริการกับโอเปอเรเตอร์มือถือ โดยกำลังเจรจากับเอไอเอส เพื่อให้เอไอเอสโอนสิทธิในการบริหารจัดการและบำรุงรักษาเครือข่ายให้กับทีโอที ก่อนครบกำหนดสัมปทาน 2G กับทีโอทีในปี 2015 โดยเอไอเอสยังได้สิทธิใช้งานเครือข่าย 2G หรือ 2.5G จนหมดสัมปทานและบริษัท AWN ในเครือเอไอเอสที่ได้ใบอนุญาตความถี่ 2.1 GHz จากกสทช. ก็สามารถติดตั้งอุปกรณ์ 3G และเช่าใช้เครือข่ายได้ทันที ซึ่งถือเป็นการเจรจาแบบวิน-วินทั้งทีโอทีและเอไอเอส

แต่สิ่งที่น.อ.อนุดิษฐ์ แสดงความเป็นกังวลมากสำหรับทีโอทีคือบริการโทรศัพท์มือถือ 3G ที่ยังอยู่ในสถานการณ์เลือดไหล หรือ ค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายได้ ในขณะที่บริการอื่นๆสามารถเอาตัวรอดได้ ปัญหาที่เกิดกับ 3G ทีโอที คือ 1.ทีโอทีไม่ควรทำโครงการ 3G แบบเป็นเฟส แต่ควรลงทุนด้วยเงินจำนวนที่สามารถให้บริการครอบคลุมพื้นที่มากพอตอบสนองความต้องการและแข่งขันได้ 2.การกำหนดให้ต้องใช้สถานีฐานร่วมหรือโคไซต์กับเอกชน ทำให้เกิดความล่าช้ามากในการติดตั้ง
   
       "ถือว่าปัญหาใกล้จบแล้ว สถานีฐานเหลืออีก 100 กว่าไซต์เท่านั้น ส่วนเรื่องบริการก็บันเดิลเข้าไปกับบริการบรอดแบนด์ โทร.พื้นฐานในลักษณะควอดเพลย์ร่วมกับบริการอื่นๆที่ทำกำไร ซึ่งทำให้ตอนนี้ในภูมิภาคติดตั้งแทบไม่ทันแล้ว" น.อ.อนุดิษฐ์กล่าวและย้ำว่าบริการ 3G ทีโอทีต้องเน้นไปที่ลูกค้าหน่วยงานรัฐและองค์กรธุรกิจต่างๆ โดยหากมีลูกค้าเพียง 2 ล้านรายก็เชื่อว่าคุ้มทุนแล้ว
   
       ปัญหาที่เกิดกับ 3G เฟสแรกคือการปรับลดงบประมาณจาก 2.9 หมื่นล้านบาทเป็น 1.59 หมื่นล้านบาททำให้ได้สถานีฐานเพียง 5,200 แห่ง เพื่อให้บริการทั่วประเทศและยังถูกบังคับให้ทำโคไซต์อีกกว่าพันแห่ง
   
       น.อ.อนุดิษฐ์ กล่าวอีกว่าสำหรับ 3G เฟส 2 นั้น ทีโอทีจะต้องระวังไม่ให้เกิดการตัดสินใจที่ผิดพลาดอีกครั้ง โดยทีโอทีสามารถเลือกใช้วิธีการหาพาร์ตเนอร์เหมือนบริษัท กสท โทรคมนาคม ที่เลือกเป็นพาร์ตเนอร์กับกลุ่มทรู ทำสัญญาการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ ที่ได้รับการรับประกันความถูกต้องตามกฎหมายจากกสทช.แล้ว
   
       สำหรับข้อตกลงความร่วมมือระหว่างทรูและกสท นั้นเกิดขึ้นจากการที่บริษัท BFKT บริษัทลูกของกลุ่มทรูนำความถี่ 850MHz จากกสทมาใช้ร่วมกับอุปกรณ์โครงข่ายที่ BFKTสร้างมาให้กสทเช่า และนำความจุของโครงข่ายที่กสทเช่ามาขายส่งบริการให้บริษัท เรียลมูฟ ของกลุ่มทรูเพื่อทำตลาดให้บริการ 3G อีกทอดหนึ่ง โดยที่ กสทช.มีมติตรวจสอบสัญญานี้ตั้งแต่เดือนมิ.ย. 2555ว่าการขอเช่าโครงข่ายของ BFKT เข้าข่ายละเมิดกฏหมายมาตรา 7 และ 67 ของกฎหมายโทรคมนาคมหรือไม่ เนื่องจากสัญญาเช่านั้นเกิดขึ้นโดยไม่มีใบอนุญาตจากกสทช โดยความคืบหน้าล่าสุดของกรณีนี้คือ กสทช.ตัดสินให้สัญญานี้ไม่ผิดกฏหมาย โดยตีความให้ BFKT เป็นบริษัทโทรคมที่ให้บริการเช่าเครือข่าย 3G เพียงอย่างเดียว ไม่ได้ให้บริการทั่วไป ผลการตีความนี้ทำให้ BFKT ไม่ถูกจัดเป็นโอเปอเรเตอร์ ทำให้ไม่เข้าข่ายที่ต้องใช้ใบอนุญาตในการดำเนินการใดๆ ส่งให้ทรูและกสทยังเป็นพันธมิตรกันได้ต่อไป
   
       ส่วนวิธีการทำโครงการแบบเดิม ประเภทตั้งงบประมาณ เขียนทีโออาร์ และใช้วิธีการประกวดราคาแบบอิเล็กทรอนิกส์ (อีออกชัน) นอกจากนี้จะใช้เวลานานและยังอาจเกิดการรั่วไหล ไม่ทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ยกเว้นทีโอทีจะพิสูจน์ให้เห็นว่าวิธีการแบบเดิมๆ สามารถดำเนินการสร้างโครงข่ายได้เร็วและมี MVNO ที่สามารถสร้างรายได้ให้คุ้มค่าเพียงพอกับที่สถาบันการเงินจะปล่อยกู้ให้ เพราะปัจจุบันแหล่งเงินภายในประเทศจะถูกจับจองจากโครงการ 2 ล้านล้านบาทและโครงการบริหารจัดการน้ำ3.5 แสนล้านบาทไปแล้ว





TOT should seek private partners to help promote 3G service for mutual benefit, he suggested.

Regulations require state enterprises to seek government approval for any new investment projects.

Endorsements are needed for the project's feasibility draft and budget plan, taking into consideration ineffective measures under the current business environment.

"It's time for TOT to shift away from the existing red tape if it is to survive after its core concession revenue vanishes," said Gp Capt Anudith.













ข่าวที่เกี่ยวข้อง

25 เมษายน 2556 AIS3Gใหม่ ตัดสินใจ เช่าความจุ TOT3G พร้อมคุยเช่าติดตั้งเสา 15,000 - 40,000 บาท ต่อสถานี!(คาดประชุมครั้งต่อไป รู้ผลแน่นอน

http://somagawn.blogspot.com/2013/04/25-2556-ais3g-tot3g-15000-40000.html





_______________________________________




‘อนุดิษฐ์’ไฟเขียว 3G เฟส 2 ทีโอทีเลียนแบบ ‘ทรู-กสท’


‘อนุดิษฐ์’ เปิดทางทีโอทีเดินหน้าโครงการมือถือ 3G เฟส 2 ด้วยการหาพาร์ตเนอร์แบบเดียวกับที่กลุ่มทรูเป็นพันธมิตรกับ กสท ในการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ ชี้เป็นแนวทางที่ทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมเปิด 5 แนวทางสร้างรายได้ยั่งยืนให้ทีโอที ลั่นไม่ยอมให้ทีโอทีตายคามือเด็ดขาด
     
       น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) กล่าวว่า ถึงแม้หน่วยงานในสังกัดอย่างบริษัท ทีโอที จะไม่มีรายได้จากสัญญาสัมปทานในปีหน้า แต่มั่นใจว่านโยบายที่วางไว้ให้จะสามารถสร้างรายได้ที่ยั่งยืนและทำให้ทีโอทีอยู่รอดปลอดภัย
     
       "ผมไม่ยอมให้ทีโอทีตายลงไปในช่วงที่ผมเป็นรัฐมนตรีกำกับดูแลเด็ดขาด หากทีโอทีทำได้ตามแผนที่วางไว้มั่นใจว่าอยู่รอดแน่"
     
       เป้าหมายของรมว.ไอซีทีคือทำให้ทีโอทีเป็นบริษัทให้บริการโครงข่าย (เน็ตเวิร์ก โพรวายเดอร์) หรือการเป็นคอร์เน็ตเวิร์กให้บริการเอกชน มาเช่าใช้แล้วทีโอทีมีรายได้จากค่าเช่าในระยะยาว ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของ 1.การเป็นคอร์เน็ตเวิร์กให้ซีทีเอช ที่ให้บริการเพย์ทีวีกับสมาชิก รวมทั้งมีแผนให้บริการบรอดแบนด์ ซึ่งซีทีเอชจะมาช่วยเรื่องลาสไมล์ที่เชื่อมต่อไปถึงครัวเรือนของประชาชน เท่ากับเป็นการกระจายบรอดแบนด์ไปยังทุกพื้นที่ของประเทศ และเป็นการสนับสนุนโครงการสมาร์ทไทยแลนด์และบริการอีกอฟเวอร์เมนต์ด้วย
     
       2.การเป็นสถานีทวนสัญญาณให้สถานีทีวีดิจิตอล 3.มุ่งเน้นลงทุนด้านอินเตอร์เนชันแนล เกตเวย์ รองรับการเชื่อมโยงข้อมูลทั้งภายในและต่างประเทศ โดยเฉพาะในอนาคตอันใกล้นี้ พม่าจะให้ไลเซนต์โอเปอเรเตอร์อย่างน้อย 4 รายที่จำเป็นต้องมีเกตเวย์ออกต่างประเทศ ซึ่งในขณะนี้อยู่ในระหว่างการเจรจากับพม่าอีกทั้งพม่ายังมีแท่นขุดเจาะน้ำมันอีกกว่า 100 แท่นปัจจุบันใช้บรอดแบนด์ผ่านดาวเทียมไอพีสตาร์ ซึ่งไทยกำลังศึกษาว่าจะมีความร่วมมือกันได้อย่างไรในการให้บริการผ่านระบบเคเบิลใยแก้ว
     
       4.การให้บริการกอฟเวอร์เมนต์ คลาวด์ และ 5.ใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์และโครงข่ายของทีโอทีที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อย่างกรณี การจัดตั้งบริษัท ทาวเวอร์โค ภายใต้บริษัท เอซีที โมบายล์ของทีโอทีเพื่อให้บริการกับโอเปอเรเตอร์มือถือ โดยกำลังเจรจากับเอไอเอส เพื่อให้เอไอเอสโอนสิทธิในการบริหารจัดการและบำรุงรักษาเครือข่ายให้กับทีโอที ก่อนครบกำหนดสัมปทาน 2G กับทีโอทีในปี 2015 โดยเอไอเอสยังได้สิทธิใช้งานเครือข่าย 2G หรือ 2.5G จนหมดสัมปทานและบริษัท AWN ในเครือเอไอเอสที่ได้ใบอนุญาตความถี่ 2.1 GHz จากกสทช. ก็สามารถติดตั้งอุปกรณ์ 3G และเช่าใช้เครือข่ายได้ทันที ซึ่งถือเป็นการเจรจาแบบวิน-วินทั้งทีโอทีและเอไอเอส
     
       รมว.ไอซีทียืนยันว่า การที่ กสทช มีมติเห็นชอบ 3 ร่างกฎระเบียบที่กำกับดูแลการแบ่งปันโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมเมื่อ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ถือเป็นโอกาสดีของทีโอทีในการเป็นผู้ให้บริการเครือข่ายเต็มรูปแบบภายใต้ระบบใหม่โดย 3 ร่างดังกล่าวเป็นข้อตกลงที่ครอบคลุมการแบ่งปันเครือข่าย การโรมมิ่งเครือข่าย และบริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือแบบเสมือน
     
       แต่สิ่งที่น.อ.อนุดิษฐ์ แสดงความเป็นกังวลมากสำหรับทีโอทีคือบริการโทรศัพท์มือถือ 3G ที่ยังอยู่ในสถานการณ์เลือดไหล หรือ ค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายได้ ในขณะที่บริการอื่นๆสามารถเอาตัวรอดได้ ปัญหาที่เกิดกับ 3G ทีโอที คือ 1.ทีโอทีไม่ควรทำโครงการ 3G แบบเป็นเฟส แต่ควรลงทุนด้วยเงินจำนวนที่สามารถให้บริการครอบคลุมพื้นที่มากพอตอบสนองความต้องการและแข่งขันได้ 2.การกำหนดให้ต้องใช้สถานีฐานร่วมหรือโคไซต์กับเอกชน ทำให้เกิดความล่าช้ามากในการติดตั้ง
     
       "ถือว่าปัญหาใกล้จบแล้ว สถานีฐานเหลืออีก 100 กว่าไซต์เท่านั้น ส่วนเรื่องบริการก็บันเดิลเข้าไปกับบริการบรอดแบนด์ โทร.พื้นฐานในลักษณะควอดเพลย์ร่วมกับบริการอื่นๆที่ทำกำไร ซึ่งทำให้ตอนนี้ในภูมิภาคติดตั้งแทบไม่ทันแล้ว" น.อ.อนุดิษฐ์กล่าวและย้ำว่าบริการ 3G ทีโอทีต้องเน้นไปที่ลูกค้าหน่วยงานรัฐและองค์กรธุรกิจต่างๆ โดยหากมีลูกค้าเพียง 2 ล้านรายก็เชื่อว่าคุ้มทุนแล้ว
     
       ปัญหาที่เกิดกับ 3G เฟสแรกคือการปรับลดงบประมาณจาก 2.9 หมื่นล้านบาทเป็น 1.59 หมื่นล้านบาททำให้ได้สถานีฐานเพียง 5,200 แห่ง เพื่อให้บริการทั่วประเทศและยังถูกบังคับให้ทำโคไซต์อีกกว่าพันแห่ง
     
       น.อ.อนุดิษฐ์ กล่าวอีกว่าสำหรับ 3G เฟส 2 นั้น ทีโอทีจะต้องระวังไม่ให้เกิดการตัดสินใจที่ผิดพลาดอีกครั้ง โดยทีโอทีสามารถเลือกใช้วิธีการหาพาร์ตเนอร์เหมือนบริษัท กสท โทรคมนาคม ที่เลือกเป็นพาร์ตเนอร์กับกลุ่มทรู ทำสัญญาการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ ที่ได้รับการรับประกันความถูกต้องตามกฎหมายจากกสทช.แล้ว
     
       สำหรับข้อตกลงความร่วมมือระหว่างทรูและกสท นั้นเกิดขึ้นจากการที่บริษัท BFKT บริษัทลูกของกลุ่มทรูนำความถี่ 850MHz จากกสทมาใช้ร่วมกับอุปกรณ์โครงข่ายที่ BFKTสร้างมาให้กสทเช่า และนำความจุของโครงข่ายที่กสทเช่ามาขายส่งบริการให้บริษัท เรียลมูฟ ของกลุ่มทรูเพื่อทำตลาดให้บริการ 3G อีกทอดหนึ่ง โดยที่ กสทช.มีมติตรวจสอบสัญญานี้ตั้งแต่เดือนมิ.ย. 2555ว่าการขอเช่าโครงข่ายของ BFKT เข้าข่ายละเมิดกฏหมายมาตรา 7 และ 67 ของกฎหมายโทรคมนาคมหรือไม่ เนื่องจากสัญญาเช่านั้นเกิดขึ้นโดยไม่มีใบอนุญาตจากกสทช โดยความคืบหน้าล่าสุดของกรณีนี้คือ กสทช.ตัดสินให้สัญญานี้ไม่ผิดกฏหมาย โดยตีความให้ BFKT เป็นบริษัทโทรคมที่ให้บริการเช่าเครือข่าย 3G เพียงอย่างเดียว ไม่ได้ให้บริการทั่วไป ผลการตีความนี้ทำให้ BFKT ไม่ถูกจัดเป็นโอเปอเรเตอร์ ทำให้ไม่เข้าข่ายที่ต้องใช้ใบอนุญาตในการดำเนินการใดๆ ส่งให้ทรูและกสทยังเป็นพันธมิตรกันได้ต่อไป
     
       ส่วนวิธีการทำโครงการแบบเดิม ประเภทตั้งงบประมาณ เขียนทีโออาร์ และใช้วิธีการประกวดราคาแบบอิเล็กทรอนิกส์ (อีออกชัน) นอกจากนี้จะใช้เวลานานและยังอาจเกิดการรั่วไหล ไม่ทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ยกเว้นทีโอทีจะพิสูจน์ให้เห็นว่าวิธีการแบบเดิมๆ สามารถดำเนินการสร้างโครงข่ายได้เร็วและมี MVNO ที่สามารถสร้างรายได้ให้คุ้มค่าเพียงพอกับที่สถาบันการเงินจะปล่อยกู้ให้ เพราะปัจจุบันแหล่งเงินภายในประเทศจะถูกจับจองจากโครงการ 2 ล้านล้านบาทและโครงการบริหารจัดการน้ำ3.5 แสนล้านบาทไปแล้ว
     
       "ในเมื่อมีหน่วยงานออกมารับประกันความถูกต้องแล้ว ก็ไม่มีเหตุผลอะไรที่ทีโอทีไม่สามารถดำเนินการในลักษณะเช่นเดียวกันได้ ซึ่งเชื่อว่าวิธีการหาพาร์ตเนอร์จะทำให้เกิดประสิทธิภาพและสามารถให้บริการได้ในเวลาอันรวดเร็ว"
     

http://www.manager.co.th/CyberBiz/ViewNews.aspx?NewsID=9560000050937


________________________________________


ไฟเขียวทีโอทีหาพันธมิตร3G



       ‘อนุดิษฐ์’ เปิดทางทีโอทีเดินหน้าโครงการมือถือ 3G เฟส 2 ด้วยการหาพาร์ตเนอร์แบบเดียวกับที่กลุ่มทรูเป็นพันธมิตรกับกสท ในการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ ชี้เป็นแนวทางที่ทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมเปิด 5 แนวทางสร้างรายได้ยั่งยืนให้ทีโอที ลั่นไม่ยอมให้ทีโอทีตายคามือเด็ดขาด
       
       น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) กล่าวว่าถึงแม้หน่วยงานในสังกัดอย่างบริษัท ทีโอที จะไม่มีรายได้จากสัญญาสัมปทานในปีหน้า แต่มั่นใจว่านโยบายที่วางไว้ให้จะสามารถสร้างรายได้ที่ยั่งยืนและทำให้ทีโอทีอยู่รอดปลอดภัย
       
       ‘ผมไม่ยอมให้ทีโอทีตายลงไปในช่วงที่ผมเป็นรัฐมนตรีกำกับดูแลเด็ดขาด หากทีโอทีทำได้ตามแผนที่วางไว้มั่นใจว่าอยู่รอดแน่’
       
       เป้าหมายของรมว.ไอซีทีคือทำให้ทีโอทีเป็นบริษัทให้บริการโครงข่าย (เน็ตเวิร์ก โพรวายเดอร์) หรือการเป็นคอร์เน็ตเวิร์กให้บริการเอกชน มาเช่าใช้แล้วทีโอทีมีรายได้จากค่าเช่าในระยะยาว อาทิ 1.การเป็นคอร์เน็ตเวิร์กให้ซีทีเอช ที่ให้บริการเปย์ทีวีกับสมาชิก รวมทั้งมีแผนให้บริการบรอดแบนด์ ซึ่งซีทีเอชจะมาช่วยเรื่องลาสไมล์ที่เชื่อมต่อไปถึงครัวเรือนของประชาชน เท่ากับเป็นการกระจายบรอดแบนด์ไปยังทุกพื้นที่ของประเทศ และเป็นการสนับสนุนโครงการสมาร์ทไทยแลนด์และบริการอีกอฟเวอร์เมนต์ด้วย 2.การเป็นสถานีทวนสัญญาณให้สถานีทีวีดิจิตอล 3.มุ่งเน้นลงทุนด้านอินเตอร์เนชั่นแนล เกตเวย์ รองรับการเชื่อมโยงข้อมูลทั้งภายในและต่างประเทศ โดยเฉพาะในอนาคตอันใกล้นี้ พม่าจะให้ไลเซ่นต์โอเปอเรเตอร์อย่างน้อย 4 รายที่จำเป็นต้องมีเกตเวย์ออกต่างประเทศ ซึ่งในขณะนี้อยู่ในระหว่างการเจรจากับพม่าอีกทั้งพม่ายังมีแท่นขุดเจาะน้ำมันอีกกว่า 100 แท่นปัจจุบันใช้บรอดแบนด์ผ่านดาวเทียมไอพีสตาร์ ไทยกำลังศึกษาว่าจะมีความร่วมมือกันได้อย่างไรในการให้บริการผ่านระบบเคเบิลใยแก้ว
       
       4.การให้บริการกอฟเวอร์เมนต์ คลาวด์ และ 5.ใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์และโครงข่ายของทีโอทีที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อย่างกรณี การจัดตั้งบริษัท ทาวเวอร์โค ภายใต้บริษัท เอซีที โมบายล์ของทีโอทีเพื่อให้บริการกับโอเปอเรเตอร์มือถือ โดยกำลังเจรจากับเอไอเอส เพื่อให้เอไอเอสโอนสิทธิในการบริหารจัดการและบำรุงรักษาเครือข่ายให้กับทีโอที ก่อนครบกำหนดสัมปทาน 2G กับทีโอทีในปี 2015 โดยเอไอเอสยังได้สิทธิใช้งานเครือข่าย 2G หรือ 2.5G จนหมดสัมปทานและบริษัท AWN ในเครือเอไอเอสที่ได้ใบอนุญาตความถี่ 2.1 GHz จากกสทช. ก็สามารถติดตั้งอุปกรณ์ 3G และเช่าใช้เครือข่ายได้ทันที ซึ่งถือเป็นการเจรจาแบบวิน-วินทั้งทีโอทีและเอไอเอส
       
       รมว.ไอซีทียืนยันว่า การที่ กสทช มีมติเห็นชอบ 3 ร่างกฎระเบียบที่กำกับดูแลการแบ่งปันโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมเมื่อ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ถือเป็นโอกาสดีของทีโอทีในการเป็นผู้ให้บริการเครือข่ายเต็มรูปแบบภายใต้ระบบใหม่โดย 3 ร่างดังกล่าวเป็นข้อตกลงที่ครอบคลุมการแบ่งปันเครือข่าย การโรมมิ่งเครือข่าย และบริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือแบบเสมือน
       
       แต่สิ่งที่น.อ.อนุดิษฐ์ แสดงความเป็นกังวลมากสำหรับทีโอทีคือบริการโทรศัพท์มือถือ 3G ที่ยังอยู่ในสถานการณ์เลือดไหล หรือ ค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายได้ ในขณะที่บริการอื่นๆสามารถเอาตัวรอดได้ ปัญหาที่เกิดกับ 3G ทีโอที คือ 1.ทีโอทีไม่ควรทำโครงการ 3G แบบเป็นเฟส แต่ควรลงทุนด้วยเงินจำนวนที่สามารถให้บริการครอบคลุมพื้นที่มากพอตอบสนองความต้องการและแข่งขันได้ 2.การกำหนดให้ต้องใช้สถานีฐานร่วมหรือโคไซต์กับเอกชน ทำให้เกิดความล่าช้ามากในการติดตั้ง
       
       ‘ถือว่าปัญหาใกล้จบแล้ว สถานีฐานเหลืออีก 100 กว่าไซต์เท่านั้น ส่วนเรื่องบริการก็บันเดิลเข้าไปกับบริการบรอดแบนด์ โทร.พื้นฐานในลักษณะควอดเพลย์ร่วมกับบริการอื่นๆที่ทำกำไร ซึ่งทำให้ตอนนี้ในภูมิภาคติดตั้งแทบไม่ทันแล้ว’ น.อ.อนุดิษฐ์กล่าวและย้ำว่าบริการ 3G ทีโอทีต้องเน้นไปที่ลูกค้าหน่วยงานรัฐและองค์กรธุรกิจต่างๆ โดยหากมีลูกค้าเพียง 2 ล้านรายก็เชื่อว่าคุ้มทุนแล้ว
       
       ปัญหาที่เกิดกับ 3G เฟสแรกคือการปรับลดงบประมาณจาก 2.9 หมื่นล้านบาทเป็น 1.59 หมื่นล้านบาททำให้ได้สถานีฐานเพียง 5,200 แห่ง เพื่อให้บริการทั่วประเทศและยังถูกบังคับให้ทำโคไซต์อีกกว่าพันแห่ง
       
       น.อ.อนุดิษฐ์กล่าวว่าสำหรับ 3G เฟส 2 นั้น ทีโอทีจะต้องระวังไม่ให้เกิดการตัดสินใจที่ผิดพลาดอีกครั้ง โดยทีโอทีสามารถเลือกใช้วิธีการหาพาร์ตเนอร์เหมือนบริษัท กสท โทรคมนาคม ที่เลือกเป็นพาร์ตเนอร์กับกลุ่มทรู ทำสัญญาการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ ที่ได้รับการรับประกันความถูกต้องตามกฎหมายจากกสทช.แล้ว
       
       สำหรับข้อตกลงความร่วมมือระหว่างทรูและกสท นั้นเกิดขึ้นจากการที่บริษัท BFKT บริษัทลูกของกลุ่มทรูนำความถี่ 850MHz จากกสทมาใช้ร่วมกับอุปกรณ์โครงข่ายที่ BFKT สร้างมาให้กสทเช่า และนำความจุของโครงข่ายที่กสทเช่ามาขายส่งบริการให้บริษัท เรียลมูฟ ของกลุ่มทรูเพื่อทำตลาดให้บริการ 3G อีกทอดหนึ่ง โดยที่ กสทช.มีมติตรวจสอบสัญญานี้ตั้งแต่เดือนมิ.ย.2555ว่าการขอเช่าโครงข่ายของ BFKT เข้าข่ายละเมิดกฏหมายมาตรา 7 และ 67 ของกฎหมายโทรคมนาคมหรือไม่ เนื่องจากสัญญาเช่านั้นเกิดขึ้นโดยไม่มีใบอนุญาตจากกสทช โดยความคืบหน้าล่าสุดของกรณีนี้คือ กสทช.ตัดสินให้สัญญานี้ไม่ผิดกฏหมาย โดยตีความให้ BFKT เป็นบริษัทโทรคมที่ให้บริการเช่าเครือข่าย 3G เพียงอย่างเดียว ไม่ได้ให้บริการทั่วไป ผลการตีความนี้ทำให้ BFKT ไม่ถูกจัดเป็นโอเปอเรเตอร์ ทำให้ไม่เข้าข่ายที่ต้องใช้ใบอนุญาตในการดำเนินการใดๆ ส่งให้ทรูและกสทยังเป็นพันธมิตรกันได้ต่อไป
       
       ส่วนวิธีการทำโครงการแบบเดิม ประเภทตั้งงบประมาณ เขียนทีโออาร์ และใช้วิธีการประกวดราคาแบบอิเล็กทรอนิกส์ (อีออกชั่น) นอกจากนี้จะใช้เวลานานและยังอาจเกิดการรั่วไหล ไม่ทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ยกเว้นทีโอทีจะพิสูจน์ให้เห็นว่าวิธีการแบบเดิมๆ สามารถดำเนินการสร้างโครงข่ายได้เร็วและมี MVNO ที่สามารถสร้างรายได้ให้คุ้มค่าเพียงพอกับที่สถาบันการเงินจะปล่อยกู้ให้ เพราะปัจจุบันแหล่งเงินภายในประเทศจะถูกจับจองจากโครงการ 2 ล้านล้านบาทและโครงการบริหารจัดการน้ำ 3.5 แสนล้านบาทไปแล้ว
       
       ‘ในเมื่อมีหน่วยงานออกมารับประกันความถูกต้องแล้ว ก็ไม่มีเหตุผลอะไรที่ทีโอทีไม่สามารถดำเนินการในลักษณะเช่นเดียวกันได้ ซึ่งเชื่อว่าวิธีการหาพาร์ตเนอร์จะทำให้เกิดประสิทธิภาพและสามารถให้บริการได้ในเวลาอันรวดเร็ว’


http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9560000050909&Keyword=%a1%ca%b7

____________________


Anudith okays TOT private ties


The information and communication technology minister has thrown his full support behind TOT Plc's plan to partner with private mobile operators in the second phase of its third-generation (3G) mobile service.

"It's clear the old way of doing business is losing its lustre," said Gp Capt Anudith Nakornthap.

He identified the 3G network contract between CAT Telecom and True Corporation as a "wise strategy" for the state telecom enterprise to expand business.

A final resolution of the second phase of TOT's 3G network expansion is expected to be announced by June.

TOT now provides 3G service on the 2100-megahertz spectrum via 4,200 base stations nationwide, to be expanded to 5,200 next month.

It plans to construct an additional 13,000 to 15,000 3G base stations in its second phase, a move aimed at competing with private mobile operators that are gearing up to roll out their own full 3G commercial service on the 2.1-gigahertz frequency.

But Gp Capt Anudith warned TOT to avoid the mistakes made in the first phase, which derailed the business.

TOT should seek private partners to help promote 3G service for mutual benefit, he suggested.

Regulations require state enterprises to seek government approval for any new investment projects.

Endorsements are needed for the project's feasibility draft and budget plan, taking into consideration ineffective measures under the current business environment.

"It's time for TOT to shift away from the existing red tape if it is to survive after its core concession revenue vanishes," said Gp Capt Anudith.

He said TOT should focus on its new position to become a network provider.

The National Broadcasting and Telecommunications Commission two weeks ago approved three draft regulations governing telecom infrastructure sharing.

"This will be a good opportunity for TOT to become a full network provider under the new regulatory regime," said Gp Capt Anudith.

The three regulations, to be published in the Royal Gazette soon, govern mobile network sharing, mobile network roaming and mobile virtual network services.

Gp Capt Anudith believes the infrastructure-sharing business will generate a sustainable revenue stream for both TOT and CAT Telecom.

The 2013 Network Readiness Index (NRI) of the World Economic Forum (WEF) showed Thailand ranked 74th worldwide, up from 77th last year.

The NRI represents a country's infrastructure competitiveness.

The minister said the ICT Ministry expects Thailand to stand 70th in NRI rankings next year.

The WEF also ranked Thailand's e-government index at 20th, the same as France, up from 23rd last year.

http://www.bangkokpost.com/business/news/347492/anudith-okays-tot-private-ties

ไม่มีความคิดเห็น:

So Magawn ( รวบรวบประวัติศาสตร์โทรคมนาคมและการสือสารไทย ). ขับเคลื่อนโดย Blogger.