26 มกราคม 2558 สต๊อกเลขหมายที่ผู้ให้บริการสะสมไว้ ณ ธ.ค. 2557 AIS 2Gมี 46.33 ล้านเลขหมาย AIS 3G (AWN) มี 34.52 ล้านเลขหมาย DTAC 2G มี 38.01 ล้านเลขหมาย DTAC 3G ( DTN ) มี 16.14 ล้านเลขหมาย TRUE มี 23.13 ล้านเลขหมาย TRUE ( 2100 ) มี 14.6 ล้านเลขหมาย TRUE ( 850 ) มี 20.9 ล้านเลขหมาย TOT 7.27 ล้านเลขหมาย และ MY BY CAT มี 3.39 ล้านเลขหมาย
ประเด็นหลัก
ขณะที่สต๊อกเลขหมายที่ผู้ให้บริการสะสมไว้ ณ ธ.ค. 2557 ทั้งในระบบ 2G และ 3G พบว่า เอไอเอสมี 46.33 ล้านเลขหมาย เอดับบลิวเอ็น (ในเครือเอไอเอส) มี 34.52 ล้านเลขหมาย ดีแทคมี 38.01 ล้านเลขหมาย ดีทีเอ็น (ดีแทคไตรเน็ต) มี 16.14 ล้านเลขหมาย ทรูมูฟมี 23.13 ล้านเลขหมาย เรียลฟิวเจอร์ (ทรูมูฟ เอช 2.1 GHz) มี 14.6 ล้านเลขหมาย เรียลมูฟ (ทรูมูฟ เอช 850 MHz) มี 20.9 ล้านเลขหมาย ทีโอทีมี 7.27 ล้านเลขหมาย และ กสท โทรคมนาคม (มาย บาย แคท) มี 3.39 ล้านเลขหมาย โดยข้อมูลเลขหมายนี้ยังไม่ได้รวมถึงการใช้บริการคงสิทธิ์เลขหมาย (ย้ายค่ายเบอร์เดิม) ของลูกค้า
แม้จำนวนเลขหมายในสต๊อกจะดูมาก หากเมื่อเทียบกับจำนวนลูกค้าที่ 3 ค่ายมือถือรายใหญ่ ระบุในงบฯการเงินสิ้นสุด ณ ไตรมาส 3 ปี 2557 กลับพบว่าลูกค้าในระบบ 3G มีจำนวนมากกว่าสต๊อกเลขหมายที่ได้รับการจัดสรรจาก กสทช. เนื่องจากการให้บริการ 3G ในช่วงแรกแต่ละค่ายมือถือจะเน้นการโอนลูกค้าจากระบบ 2G ไป 3G โดยเอดับบลิวเอ็นมีฐานลูกค้าอยู่ 38.7 ล้านเลขหมาย ดีทีเอ็นมีลูกค้าอยู่ 19.7 ล้านเลขหมาย ขณะที่ทรูโมบายไม่ได้แยกกลุ่มลูกค้า แต่ระบุว่ามีลูกค้าทรูโมบายอยู่ 23.4 ล้านเลขหมาย เลขาธิการ กสทช.กล่าวว่า ขณะนี้ยังไม่มีค่ายมือถือใดยื่นเรื่องขอรับการจัดสรรเลขหมายเพิ่ม แต่ในกระบวนการจัดสรรแต่ละครั้ง ที่ประชุมคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) จะเป็นผู้อนุมัติตามที่ค่ายมือถือเสนอขอมา โดยพิจารณาจากแผนการตลาดและข้อมูลการใช้เลขหมายที่สมเหตุสมผล
แต่ในการจัดสรรเลขหมายให้เอกชนแต่ละครั้ง ทางสำนักงาน กสทช.จะมีการดึงเลขหมายที่เข้าข่าย "เบอร์สวย" อาทิ เลข 9 หลักตรงกัน เลข 8 หลักตรงกัน หรือเบอร์ที่เป็นเลขเรียง 7 หลัก 6 หลัก ซึ่งปัจจุบันสำนักงาน กสทช.ได้เก็บไว้ราว 300,000 เลขหมาย และขณะนี้กำลังเตรียมที่จะนำออกประมูล เพื่อนำรายได้ส่งเข้ากระทรวงการคลัง โดยกำลังอยู่ในขั้นตอนให้คณะกรรมการกำหนดราคาขั้นต่ำในการประมูล รวมถึงการศึกษารายละเอียดในการจัดทำเกณฑ์การประมูล ก่อนให้ที่ประชุม กทค.อนุมัติ คาดว่าไม่เกินเดือนเมษายน-พฤษภาคม จะสามารถนำเลขหมายเหล่านี้ออกมาประมูลได้ โดยอาจจะเป็นการเปิดประมูลแบบออนไลน์ คาดว่าจะมีรายได้จากการประมูลไม่ต่ำกว่า 4,000-5,000 ล้านบาท
_____________________________________________________
เปิดสต๊อกเลขหมายค่ายมือถือ กสทช.เดินหน้าประมูลเบอร์สวย
หลังจากบริการโทรศัพท์มือถือ3G คลื่น 2.1 GHz เปิดให้บริการเป็นทางการเมื่อพ.ค. 2556 สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) พบว่ามีการใช้เลขหมายโทรศัพท์มือถือจำนวนสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเลขาธิการ กสทช. "ฐากร ตัณฑสิทธิ์" เปิดเผยว่า ปัจจุบันมีการใช้เลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกย่านความถี่ราว 103 ล้านเลขหมาย แบ่งเป็นการใช้บริการบนย่านความถี่ 2.1 GHz 73.5 ล้านเลขหมาย ขณะที่การใช้บนย่านความถี่อื่น ๆ ลดลงเหลือราว 29.5 ล้านเลขหมาย
ปี 2557 กสทช. จัดสรรเลขหมายใหม่ทั้งหมด 33.26 ล้านเลขหมาย พร้อมกับได้มีการเปิดหมวดเลขหมายใหม่ที่ขึ้นต้นด้วย "06x-xxx-xxxx" เพื่อนำมาจัดสรรให้ผู้ประกอบการเพิ่ม (ได้อีกราว 50 ล้านเลขหมาย) หลังจากเลขหมายในหมวด 08X และ 09X ได้จัดสรรหมดแล้ว พร้อมเตรียมนำเลขหมายในหมวด 01X มาสำรองไว้เพื่อรองรับการจัดสรรเลขหมายในอนาคต หากมีความต้องการใช้งานสูงขึ้น
ขณะที่ยอดการจัดสรรเลขหมายทั้งหมดสะสมถึง ธ.ค. 2557 ที่ กสทช.ได้จัดสรรให้กับค่ายมือถือเพื่อเตรียมนำไปให้บริการกับผู้บริโภค มีจำนวน 204.18 ล้านเลขหมาย เท่ากับว่าเป็นเลขหมายที่มีการใช้งานจริงประมาณ 50% ที่เหลือจะเป็นเลขหมายที่รอนำไปให้บริการกับลูกค้า กับส่วนที่เป็นเลขหมายในระบบ 2G ที่ลูกค้าเลิกใช้งานแล้ว แต่ค่ายมือถือยังไม่ได้คืนกลับมาให้ กสทช. เนื่องจากต้องส่งคืนเป็นกลุ่มเลขหมาย
การเติบโตของการจัดสรรเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทำให้รายได้จากค่าธรรมเนียมเลขหมายที่ กสทช.เรียกเก็บจากค่ายมือถือ ในอัตราเลขหมายละ 2 บาทต่อเดือน (ยกเว้นการขอเลขหมายครั้งแรกหลังจากได้รับใบอนุญาตจะคิดในอัตราเลขหมายละ 1 บาท) เพิ่มสูงขึ้นจาก 2,339 ล้านบาทในปี 2555 ราว 3,000 ล้านบาทในปี 2556 และราว 3,335 ล้านบาทในปี 2557 โดยในปี 2558 กสทช.คาดว่าจะมีรายได้จากค่าธรรมเนียมเลขหมาย 3,784 ล้านบาท
เมื่อจำแนกการได้รับจัดสรรเลขหมายใหม่ของแต่ละค่ายในปี 2557 พบว่า บริษัทแอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค (เอดับบลิวเอ็น)ผู้ให้บริการภายใต้แบรนด์เอไอเอส 3Gได้รับการจัดสรรไปทั้งหมด 20.52 ล้านเลขหมาย บริษัทดีแทค ไตรเน็ต ได้รับการจัดสรร 8.14 ล้านเลขหมาย ขณะที่บริษัทเรียล ฟิวเจอร์ หรือทรูมูฟ เอช(บนคลื่น 2.1 GHz) ได้รับการจัดสรร 4.6 ล้านเลขหมาย
ขณะที่สต๊อกเลขหมายที่ผู้ให้บริการสะสมไว้ ณ ธ.ค. 2557 ทั้งในระบบ 2G และ 3G พบว่า เอไอเอสมี 46.33 ล้านเลขหมาย เอดับบลิวเอ็น (ในเครือเอไอเอส) มี 34.52 ล้านเลขหมาย ดีแทคมี 38.01 ล้านเลขหมาย ดีทีเอ็น (ดีแทคไตรเน็ต) มี 16.14 ล้านเลขหมาย ทรูมูฟมี 23.13 ล้านเลขหมาย เรียลฟิวเจอร์ (ทรูมูฟ เอช 2.1 GHz) มี 14.6 ล้านเลขหมาย เรียลมูฟ (ทรูมูฟ เอช 850 MHz) มี 20.9 ล้านเลขหมาย ทีโอทีมี 7.27 ล้านเลขหมาย และ กสท โทรคมนาคม (มาย บาย แคท) มี 3.39 ล้านเลขหมาย โดยข้อมูลเลขหมายนี้ยังไม่ได้รวมถึงการใช้บริการคงสิทธิ์เลขหมาย (ย้ายค่ายเบอร์เดิม) ของลูกค้า
แม้จำนวนเลขหมายในสต๊อกจะดูมาก หากเมื่อเทียบกับจำนวนลูกค้าที่ 3 ค่ายมือถือรายใหญ่ ระบุในงบฯการเงินสิ้นสุด ณ ไตรมาส 3 ปี 2557 กลับพบว่าลูกค้าในระบบ 3G มีจำนวนมากกว่าสต๊อกเลขหมายที่ได้รับการจัดสรรจาก กสทช. เนื่องจากการให้บริการ 3G ในช่วงแรกแต่ละค่ายมือถือจะเน้นการโอนลูกค้าจากระบบ 2G ไป 3G โดยเอดับบลิวเอ็นมีฐานลูกค้าอยู่ 38.7 ล้านเลขหมาย ดีทีเอ็นมีลูกค้าอยู่ 19.7 ล้านเลขหมาย ขณะที่ทรูโมบายไม่ได้แยกกลุ่มลูกค้า แต่ระบุว่ามีลูกค้าทรูโมบายอยู่ 23.4 ล้านเลขหมาย เลขาธิการ กสทช.กล่าวว่า ขณะนี้ยังไม่มีค่ายมือถือใดยื่นเรื่องขอรับการจัดสรรเลขหมายเพิ่ม แต่ในกระบวนการจัดสรรแต่ละครั้ง ที่ประชุมคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) จะเป็นผู้อนุมัติตามที่ค่ายมือถือเสนอขอมา โดยพิจารณาจากแผนการตลาดและข้อมูลการใช้เลขหมายที่สมเหตุสมผล
แต่ในการจัดสรรเลขหมายให้เอกชนแต่ละครั้ง ทางสำนักงาน กสทช.จะมีการดึงเลขหมายที่เข้าข่าย "เบอร์สวย" อาทิ เลข 9 หลักตรงกัน เลข 8 หลักตรงกัน หรือเบอร์ที่เป็นเลขเรียง 7 หลัก 6 หลัก ซึ่งปัจจุบันสำนักงาน กสทช.ได้เก็บไว้ราว 300,000 เลขหมาย และขณะนี้กำลังเตรียมที่จะนำออกประมูล เพื่อนำรายได้ส่งเข้ากระทรวงการคลัง โดยกำลังอยู่ในขั้นตอนให้คณะกรรมการกำหนดราคาขั้นต่ำในการประมูล รวมถึงการศึกษารายละเอียดในการจัดทำเกณฑ์การประมูล ก่อนให้ที่ประชุม กทค.อนุมัติ คาดว่าไม่เกินเดือนเมษายน-พฤษภาคม จะสามารถนำเลขหมายเหล่านี้ออกมาประมูลได้ โดยอาจจะเป็นการเปิดประมูลแบบออนไลน์ คาดว่าจะมีรายได้จากการประมูลไม่ต่ำกว่า 4,000-5,000 ล้านบาท
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1421903228
ขณะที่สต๊อกเลขหมายที่ผู้ให้บริการสะสมไว้ ณ ธ.ค. 2557 ทั้งในระบบ 2G และ 3G พบว่า เอไอเอสมี 46.33 ล้านเลขหมาย เอดับบลิวเอ็น (ในเครือเอไอเอส) มี 34.52 ล้านเลขหมาย ดีแทคมี 38.01 ล้านเลขหมาย ดีทีเอ็น (ดีแทคไตรเน็ต) มี 16.14 ล้านเลขหมาย ทรูมูฟมี 23.13 ล้านเลขหมาย เรียลฟิวเจอร์ (ทรูมูฟ เอช 2.1 GHz) มี 14.6 ล้านเลขหมาย เรียลมูฟ (ทรูมูฟ เอช 850 MHz) มี 20.9 ล้านเลขหมาย ทีโอทีมี 7.27 ล้านเลขหมาย และ กสท โทรคมนาคม (มาย บาย แคท) มี 3.39 ล้านเลขหมาย โดยข้อมูลเลขหมายนี้ยังไม่ได้รวมถึงการใช้บริการคงสิทธิ์เลขหมาย (ย้ายค่ายเบอร์เดิม) ของลูกค้า
แม้จำนวนเลขหมายในสต๊อกจะดูมาก หากเมื่อเทียบกับจำนวนลูกค้าที่ 3 ค่ายมือถือรายใหญ่ ระบุในงบฯการเงินสิ้นสุด ณ ไตรมาส 3 ปี 2557 กลับพบว่าลูกค้าในระบบ 3G มีจำนวนมากกว่าสต๊อกเลขหมายที่ได้รับการจัดสรรจาก กสทช. เนื่องจากการให้บริการ 3G ในช่วงแรกแต่ละค่ายมือถือจะเน้นการโอนลูกค้าจากระบบ 2G ไป 3G โดยเอดับบลิวเอ็นมีฐานลูกค้าอยู่ 38.7 ล้านเลขหมาย ดีทีเอ็นมีลูกค้าอยู่ 19.7 ล้านเลขหมาย ขณะที่ทรูโมบายไม่ได้แยกกลุ่มลูกค้า แต่ระบุว่ามีลูกค้าทรูโมบายอยู่ 23.4 ล้านเลขหมาย เลขาธิการ กสทช.กล่าวว่า ขณะนี้ยังไม่มีค่ายมือถือใดยื่นเรื่องขอรับการจัดสรรเลขหมายเพิ่ม แต่ในกระบวนการจัดสรรแต่ละครั้ง ที่ประชุมคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) จะเป็นผู้อนุมัติตามที่ค่ายมือถือเสนอขอมา โดยพิจารณาจากแผนการตลาดและข้อมูลการใช้เลขหมายที่สมเหตุสมผล
แต่ในการจัดสรรเลขหมายให้เอกชนแต่ละครั้ง ทางสำนักงาน กสทช.จะมีการดึงเลขหมายที่เข้าข่าย "เบอร์สวย" อาทิ เลข 9 หลักตรงกัน เลข 8 หลักตรงกัน หรือเบอร์ที่เป็นเลขเรียง 7 หลัก 6 หลัก ซึ่งปัจจุบันสำนักงาน กสทช.ได้เก็บไว้ราว 300,000 เลขหมาย และขณะนี้กำลังเตรียมที่จะนำออกประมูล เพื่อนำรายได้ส่งเข้ากระทรวงการคลัง โดยกำลังอยู่ในขั้นตอนให้คณะกรรมการกำหนดราคาขั้นต่ำในการประมูล รวมถึงการศึกษารายละเอียดในการจัดทำเกณฑ์การประมูล ก่อนให้ที่ประชุม กทค.อนุมัติ คาดว่าไม่เกินเดือนเมษายน-พฤษภาคม จะสามารถนำเลขหมายเหล่านี้ออกมาประมูลได้ โดยอาจจะเป็นการเปิดประมูลแบบออนไลน์ คาดว่าจะมีรายได้จากการประมูลไม่ต่ำกว่า 4,000-5,000 ล้านบาท
_____________________________________________________
เปิดสต๊อกเลขหมายค่ายมือถือ กสทช.เดินหน้าประมูลเบอร์สวย
หลังจากบริการโทรศัพท์มือถือ3G คลื่น 2.1 GHz เปิดให้บริการเป็นทางการเมื่อพ.ค. 2556 สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) พบว่ามีการใช้เลขหมายโทรศัพท์มือถือจำนวนสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเลขาธิการ กสทช. "ฐากร ตัณฑสิทธิ์" เปิดเผยว่า ปัจจุบันมีการใช้เลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกย่านความถี่ราว 103 ล้านเลขหมาย แบ่งเป็นการใช้บริการบนย่านความถี่ 2.1 GHz 73.5 ล้านเลขหมาย ขณะที่การใช้บนย่านความถี่อื่น ๆ ลดลงเหลือราว 29.5 ล้านเลขหมาย
ปี 2557 กสทช. จัดสรรเลขหมายใหม่ทั้งหมด 33.26 ล้านเลขหมาย พร้อมกับได้มีการเปิดหมวดเลขหมายใหม่ที่ขึ้นต้นด้วย "06x-xxx-xxxx" เพื่อนำมาจัดสรรให้ผู้ประกอบการเพิ่ม (ได้อีกราว 50 ล้านเลขหมาย) หลังจากเลขหมายในหมวด 08X และ 09X ได้จัดสรรหมดแล้ว พร้อมเตรียมนำเลขหมายในหมวด 01X มาสำรองไว้เพื่อรองรับการจัดสรรเลขหมายในอนาคต หากมีความต้องการใช้งานสูงขึ้น
ขณะที่ยอดการจัดสรรเลขหมายทั้งหมดสะสมถึง ธ.ค. 2557 ที่ กสทช.ได้จัดสรรให้กับค่ายมือถือเพื่อเตรียมนำไปให้บริการกับผู้บริโภค มีจำนวน 204.18 ล้านเลขหมาย เท่ากับว่าเป็นเลขหมายที่มีการใช้งานจริงประมาณ 50% ที่เหลือจะเป็นเลขหมายที่รอนำไปให้บริการกับลูกค้า กับส่วนที่เป็นเลขหมายในระบบ 2G ที่ลูกค้าเลิกใช้งานแล้ว แต่ค่ายมือถือยังไม่ได้คืนกลับมาให้ กสทช. เนื่องจากต้องส่งคืนเป็นกลุ่มเลขหมาย
การเติบโตของการจัดสรรเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทำให้รายได้จากค่าธรรมเนียมเลขหมายที่ กสทช.เรียกเก็บจากค่ายมือถือ ในอัตราเลขหมายละ 2 บาทต่อเดือน (ยกเว้นการขอเลขหมายครั้งแรกหลังจากได้รับใบอนุญาตจะคิดในอัตราเลขหมายละ 1 บาท) เพิ่มสูงขึ้นจาก 2,339 ล้านบาทในปี 2555 ราว 3,000 ล้านบาทในปี 2556 และราว 3,335 ล้านบาทในปี 2557 โดยในปี 2558 กสทช.คาดว่าจะมีรายได้จากค่าธรรมเนียมเลขหมาย 3,784 ล้านบาท
เมื่อจำแนกการได้รับจัดสรรเลขหมายใหม่ของแต่ละค่ายในปี 2557 พบว่า บริษัทแอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค (เอดับบลิวเอ็น)ผู้ให้บริการภายใต้แบรนด์เอไอเอส 3Gได้รับการจัดสรรไปทั้งหมด 20.52 ล้านเลขหมาย บริษัทดีแทค ไตรเน็ต ได้รับการจัดสรร 8.14 ล้านเลขหมาย ขณะที่บริษัทเรียล ฟิวเจอร์ หรือทรูมูฟ เอช(บนคลื่น 2.1 GHz) ได้รับการจัดสรร 4.6 ล้านเลขหมาย
ขณะที่สต๊อกเลขหมายที่ผู้ให้บริการสะสมไว้ ณ ธ.ค. 2557 ทั้งในระบบ 2G และ 3G พบว่า เอไอเอสมี 46.33 ล้านเลขหมาย เอดับบลิวเอ็น (ในเครือเอไอเอส) มี 34.52 ล้านเลขหมาย ดีแทคมี 38.01 ล้านเลขหมาย ดีทีเอ็น (ดีแทคไตรเน็ต) มี 16.14 ล้านเลขหมาย ทรูมูฟมี 23.13 ล้านเลขหมาย เรียลฟิวเจอร์ (ทรูมูฟ เอช 2.1 GHz) มี 14.6 ล้านเลขหมาย เรียลมูฟ (ทรูมูฟ เอช 850 MHz) มี 20.9 ล้านเลขหมาย ทีโอทีมี 7.27 ล้านเลขหมาย และ กสท โทรคมนาคม (มาย บาย แคท) มี 3.39 ล้านเลขหมาย โดยข้อมูลเลขหมายนี้ยังไม่ได้รวมถึงการใช้บริการคงสิทธิ์เลขหมาย (ย้ายค่ายเบอร์เดิม) ของลูกค้า
แม้จำนวนเลขหมายในสต๊อกจะดูมาก หากเมื่อเทียบกับจำนวนลูกค้าที่ 3 ค่ายมือถือรายใหญ่ ระบุในงบฯการเงินสิ้นสุด ณ ไตรมาส 3 ปี 2557 กลับพบว่าลูกค้าในระบบ 3G มีจำนวนมากกว่าสต๊อกเลขหมายที่ได้รับการจัดสรรจาก กสทช. เนื่องจากการให้บริการ 3G ในช่วงแรกแต่ละค่ายมือถือจะเน้นการโอนลูกค้าจากระบบ 2G ไป 3G โดยเอดับบลิวเอ็นมีฐานลูกค้าอยู่ 38.7 ล้านเลขหมาย ดีทีเอ็นมีลูกค้าอยู่ 19.7 ล้านเลขหมาย ขณะที่ทรูโมบายไม่ได้แยกกลุ่มลูกค้า แต่ระบุว่ามีลูกค้าทรูโมบายอยู่ 23.4 ล้านเลขหมาย เลขาธิการ กสทช.กล่าวว่า ขณะนี้ยังไม่มีค่ายมือถือใดยื่นเรื่องขอรับการจัดสรรเลขหมายเพิ่ม แต่ในกระบวนการจัดสรรแต่ละครั้ง ที่ประชุมคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) จะเป็นผู้อนุมัติตามที่ค่ายมือถือเสนอขอมา โดยพิจารณาจากแผนการตลาดและข้อมูลการใช้เลขหมายที่สมเหตุสมผล
แต่ในการจัดสรรเลขหมายให้เอกชนแต่ละครั้ง ทางสำนักงาน กสทช.จะมีการดึงเลขหมายที่เข้าข่าย "เบอร์สวย" อาทิ เลข 9 หลักตรงกัน เลข 8 หลักตรงกัน หรือเบอร์ที่เป็นเลขเรียง 7 หลัก 6 หลัก ซึ่งปัจจุบันสำนักงาน กสทช.ได้เก็บไว้ราว 300,000 เลขหมาย และขณะนี้กำลังเตรียมที่จะนำออกประมูล เพื่อนำรายได้ส่งเข้ากระทรวงการคลัง โดยกำลังอยู่ในขั้นตอนให้คณะกรรมการกำหนดราคาขั้นต่ำในการประมูล รวมถึงการศึกษารายละเอียดในการจัดทำเกณฑ์การประมูล ก่อนให้ที่ประชุม กทค.อนุมัติ คาดว่าไม่เกินเดือนเมษายน-พฤษภาคม จะสามารถนำเลขหมายเหล่านี้ออกมาประมูลได้ โดยอาจจะเป็นการเปิดประมูลแบบออนไลน์ คาดว่าจะมีรายได้จากการประมูลไม่ต่ำกว่า 4,000-5,000 ล้านบาท
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1421903228
ไม่มีความคิดเห็น: